//一年之內,澳洲和美國洛杉磯郊區都發生過山火,氣場所及,連美國總統就職禮之前,國會山也燒了起來。煙焰兵火,戰亂嗥啼,法華經說:「劫濁亂時,眾生垢重」,二〇二〇年是歷史關鍵的一年,這句話說盡了網絡壟斷、數據獨裁的新時代,沒有文學,也沒有哲學,而只有達爾文學(Darwinism)。// #陶傑 #名采
►【山火林風】山火林風 bit.ly/3bUkdUw
==============
《果籽》MeWe 👉🏻 mewe.com/p/as.appledaily
《果籽》TG Channel 👉🏻 t.me/appleseedhk
立即追蹤接收最新資訊
=============
收看更多精彩影片
訂閱《果籽》YouTube Channel 👉🏻 bit.ly/AppleseedSub
=============
💪🏼 VIP撐《蘋果》計劃
每月$300起: bit.ly/33LO1yC
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過76萬的網紅memehongkong,也在其Youtube影片中提到,講下John Nash 納殊平衡的問題,徐教授提我合作性博弈得致平衡不是納殊講的,而是由其他的人發展出來的。他未有這樣講的。他是對的。不過我也看過有些文章是這樣寫的。 第二,現實上事情是經過連橫博弈才會達致最終的效果。即是不停地撞,撞了很多次,直到有次巧合地撞中了。像囚徒困境中,總有一對是大家都...
darwinism 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
มาทำความเข้าใจ "ทฤษฎีวิวัฒนาการ ผ่านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ของชาร์ล ดาร์วิน" กันให้ถูกต้องครับ
ตอนนี้มีประเด็นดราม่ากันเกิดขึ้น เนื่องจากมีคนพูดทำนองว่า "ในสถานการณ์วิกฤตโรคโรคโควิด-19 ระบาดนี้ ใครลำบาก มันก็เป็นเรื่องที่ต้องช่วยตัวเอง ตายได้ตายไปเลย ธรรมชาติจะคัดสรรผู้ที่อยู่รอดสำหรับประเทศกำลังพัฒนา ตามทฤษฎีชาร์ล ดาร์วิน" ?!
จริงๆ แล้ว ลักษณะประโยคอย่างที่พูดมานั้น ไม่ได้ตรงตามทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ล ดาร์วิน แต่เป็นแนวคิดที่เรียกว่า Social Darwinism ซึ่งเกิดขึ้นในยุคทศวรรษที่ 1870s อ้างว่าเป็นการเอาหลักชีววิทยาของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) และการอยู่รอดของผู้ที่ปรับตัวได้ดีกว่า (survival of the fittest) มาประยุกต์ใช้กับเรื่องรัฐศาสตร์สังคมวิทยา
ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เชื่อว่า ผู้ที่แข็งแรงกว่า ก็ควรจะมีอำนาจและทรัพย์สมบัติเพิ่มขึ้น ส่วนผู้ที่อ่อนแอกว่า ก็ควรจะมีอำนาจและทรัพย์สมบัติลดลง .. แนวคิด Social Darwinism ได้ถูกเอาไปอ้างกันมากในหลายๆ กลุ่มเพื่อสนับสนุนความเชื่อของกลุ่มตน ไม่ว่าจะเป็นพวกทุนนิยม พวกยูเจนิกส์ (eugenics) พวกเหยียดเชื้อชาติ พวกจักรวรรดินิยม พวกฟาสซิสต์ พวกนาซี หรือแม้แต่เวลาที่มีการขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติและกลุ่มชน
แต่ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินนั้น ดาร์วินตั้งใจจะใช้เพื่ออธิบายความหลากหลาย และการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ ไม่ได้มีเจตนาที่มุ่งไปที่การต่อสู้กันของสังคมมนุษย์ อย่างที่เอาไปอ้างกัน
ยิ่งกว่านั้น ดาร์วินไม่ได้นิยามคำว่า สิ่งมีชีวิตตัวที่ "fittest" นั้น ว่าคือตัวที่แข็งแรงที่สุด หรือฉลาดที่สุด แต่เป็นตัวที่เข้าได้กับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด และได้ขยายไปถึงตัวที่ทำงานร่วมมือกับตัวอื่นได้ ในกรณีของสัตว์สังคมหลายๆ ชนิด ตามหลักที่ว่า "struggle is replaced by co-operation" การแก่งแย่งดิ้นรน จะถูกแทนที่ด้วยการร่วมมือกัน !!
ดาร์วินได้เคยคาดการณ์ไว้แล้วว่า คำว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่เขากำลังนำเสนอแก่วงการวิทยาศาสตร์นั้น อาจจะสูญเสียความหมายที่ถูกต้องของมันไป ถ้าถูกเอาไปใช้ในมุมที่แคบๆ ว่าคือการดิ้นรนต่อสู้ระหว่างสิ่งมีชีวิตแต่ละตัว เพียงเพราะตั้งใจจะให้ตัวเองอยู่รอด
ดาร์วินเขียนไว้ในหน้าแรกๆ ของหนังสือ "Origin of Species กำเนิดสปีชีส์" อันโด่งดังของเขา ระบุถึงความหมายของคำดังกล่าวว่า "เป็นสำนึกในมุมกว้างและอุปมาอุปไมย ที่จะครอบคลุมถึงการที่สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งจะพึ่งพากับอีกตัวหนึ่ง และสำคัญยิ่งไปกว่านั้นก็คือ จะครอบคลุม ไม่ใช่เฉพาะการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตตัวนั้น แต่รวมถึงความสำเร็จในการที่จะมีลูกหลานสืบต่อไปด้วย" [จาก Origin of Species, บทที่ 3 หน้าที่ 62 ฉบับที่ตีพิมพ์ครั้งที่ 1]
ในหนังสืออีกเล่มหนึ่งตามมาของชาลส์ ดาร์วิน คือ The Descent of Man ดาร์วินได้เขียนเน้นหนักหลายหน้า เพื่อแสดงให้เห็นถึงมุมมองที่กว้างขึ้นและถูกต้องของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ดาร์วินชี้ให้เห็นว่า ในสังคมของสัตว์สารพัดชนิด เรากลับไม่พบการดิ้นรนแก่งแย่งกันเองของสัตว์แต่ละตัว แต่กลับถูกแทนที่ด้วยการทำงานร่วมกัน และพัฒนาไปสู่ศักยภาพด้านสติปัญญาและจริยธรรม ที่ช่วยให้สัตว์สปีชีส์นั้นอยู่ในสภาวะที่ดีที่สุดที่จะอยู่รอดได้
ดาร์วินอธิบายว่า ในกรณีดังกล่าวนั้น คำว่า fittest ไม่ได้หมายถึง ตัวที่แข็งแรงที่สุดทางกายภาพ แต่หมายถึงตัวที่เรียนรู้ที่จะรวมตัวพึ่งพากัน เพื่อช่วยสนับสนุนซึ่งกันและกัน ทั้งตัวที่แข็งแรงและตัวที่อ่อนแอ เพื่อประโยชน์สุขของทั้งสังคม
ดาร์วินเขียนว่า " สังคม ซึ่งมีสมาชิกที่เห็นอกเห็นใจกัน เป็นจำนวนมากที่สุด จะเติบโตรุ่งเรืองที่สุด และจะมีลูกหลานเป็นจำนวนมากที่สุดด้วย" (จากฉบับตีพิมพ์ครั้งที่ 2 หน้า 163)
ดังนั้น คำว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่งแรกเริ่มจากมุมมองแคบๆ ของการต่อสู้แข่งขันกันตามแนวคิดของ มัลธัส (Malthus นักเศรษฐศาสตร์ในยุคของดาร์วิน) ได้สูญเสียความแคบนั้นไป เมื่ออยู่ในจิตใจของคนที่เข้าใจธรรมชาติอย่างแท้จริง
(สรุปง่ายๆ ว่า อย่าเอาแนวคิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ของชาร์ล ดาร์วิน มาอ้างกันมั่วๆ เพื่อปฏิเสธเรื่องที่คนเราควรจะช่วยเหลือกันในสังคม )
ข้อมูลจาก https://en.m.wikipedia.org/wiki/Social_Darwinism
ภาพประกอบจาก https://m.facebook.com/thaihotnewz/photos/a.1622485398020612/2634697253466083/?type=3
darwinism 在 陶傑 Facebook 的精選貼文
給這幾位小精英的幾句感言:
A British boarding school is, without saying it loudly, there to help a foreign student get rid of his gene of savagery. I am glad that none of you were seen spitting around apart from doing the Churchillian V sign —- perhaps so far the only correct thing you have learned, while taking this selfie during your quarantine in Hong Kong, China.
By the way, if you are ever allowed to go back by your school and the British Home Office, stop whining about so-called racism. It is also a part of Darwinism that morons would be treated a bit less respectfully than human beings by those around you.
Good luck with your studies.
darwinism 在 memehongkong Youtube 的最讚貼文
講下John Nash 納殊平衡的問題,徐教授提我合作性博弈得致平衡不是納殊講的,而是由其他的人發展出來的。他未有這樣講的。他是對的。不過我也看過有些文章是這樣寫的。
第二,現實上事情是經過連橫博弈才會達致最終的效果。即是不停地撞,撞了很多次,直到有次巧合地撞中了。像囚徒困境中,總有一對是大家都不出賣,結果後果是最好。他們可以是因為友情的關係,所以總是不會供對方出來,結果坐監最少。其他人也會學這過程。連續博弈的結果和單一博弈也是不同的。
而所謂的演化,就是一種長期連橫博弈的結果。我再講講演化的問題,有些網友還不太明白。于非那日講,但我沒有時間作詳細解釋。甚麼叫做darwinism。其實演化不是由Darwin最先提出,很多人都有提出過。不過Darwin的evolution是有其獨特的六個特點。有些網友有講拉馬克,早達爾文幾十年,蕭伯特也是信拉馬克主義。演化是如何得出來,就是你用得多那東西便會較發達,而不用的東西便會廢棄,如一隻鹿食樹上的樹葉,不停伸長頸,結果頸便愈伸愈長,,它的後代的頸也長了,之後繼續伸長,結果變成長頸鹿。這一派認為後天的改變是造成先天的遺傳。這個就達爾文反對的。他主張先天遺傳不會因為後天的影響而改變,其實有人做了百幾代的測驗,每一隻老鼠出生便斬牠的尾,因為牠們生長得很快,幾個月便生一代,過一百代,那老鼠還是有尾巴的。後天遭遇是不會改變先天的遺傳的dna,無論如何努力都是如此。有些東西是會改變你身體的DNA而不是遺傳的DNA,飲酒吸煙會你的DNA產生一種突變,於是出現癌,但在兒子未必會出現,他要再吸煙飲酒才會再次陷入同一陷阱中。但這說法,那天我是沒有駁他。現在有些後天的遭遇也會改變遺傳,其中一種輻射。當人受到輻射影響,是會令到後代的DNA也會受到影響,可以生而致癌。但基本上大部分的東西都是不會改遺傳,這是達爾文主義的立足點。他所謂的survival of the fittest 。有個網友講納粹,但其實是錯的。因為fittest不是附壯金髮男人,選一個這樣的人,覺得他是fittest而不給其他人生育,那是不會增加survival rate,因為你不知環境如何變化。舉例,有地中海貧血症的人,平時是「大鑊」,但在某情況下,他可能令人少一些絕症。如果那絕症是流行的話,那他們也算是有其優勢。演化基本是一個盲目的鐘錶像,演變是沒有理由的,錯了一萬次。但剛好有一演變是適用,那麼他的後代便能夠生存到。所以話選強壯金髮藍眼的人,那和survival of the fittest無關,fittest就是能夠生存的,能夠生存是有一萬種理由,如對某種病毒的抵抗,又或者可以飲到污水但不死,又或者在沙漠中可以飲少一點水也能生存,但一個孤立的群眾是較易把一個演變遺傳下來,如果我們有一億人,如果那十個人有一變異,但他的變異也會被遺傳的海洋淹沒,最後失去。因為和一億人混合,結果也會溝淡了。但在一個孤立的地方,像海島中僅存的廿人,他們能夠適應的人的基因便成為主要。
至於質疑那些missing link的講法也很可笑,有很多覺得不存在的東西也陸續找了出來。恐龍和雀鳥的關係,現在也在遼寧出土一些有羽毛的雀鳥,介乎恐龍和雀鳥之間。而品種的改變是可以看到。所有生物如果去了一個島居住也會愈變愈細小,因為那些動物不需要大隻去抵抗其他生物,而島上因為少食物,所以細小的容易生存到,而牠們的後代也較細小,所以無數的生物也如此,一生出來就是較細小。日本人是其一。長毛象也是。最後滅亡的長毛象是四五千年前,牠去了海島會變縮小如牛般。那不是完全品種的改變,但那個形態和外貌的變化很大,像能不能想像到當牠們不能交配和生育,牠們已不是同一品種。敖犬和芝華華差別那麼大,是不能想像牠們是同一種類,但只不過是過了幾千年。又有人的狐狸養了兩代也有很大的變化,銀狐變了其他顏色,像狗一樣。
植物的演化也是的,因為用人工加速了那演化。這已證實了……
即時聊天室:http://goo.gl/ToDqof
謎米香港 www.memehk.com
Facebook:www.facebook.com/memehkdotcom
darwinism 在 memehongkong Youtube 的最讚貼文
昨晚我講了一個話題,但沒有詳細解說,這是很好笑的話題。很多大陸憤青、領導人,甚至一些香港人,都仍然活動二十世紀初期,停留在1900年代的思維中。這思維包括甚麼?直至一次世界大戰的時候,他們認為世界歷史是民族與民族之間你死我活的鬥爭,只要夠惡,用武力就可以搶走別人的東西。那不是你死就是我亡,不夠別人強,你的民族就會滅亡,所以你要搶地方搶資源。這是德國東向的一個原因,希特拉的戰略思想就是這樣,他覺得一定要打俄羅斯,目的是想控制整個東歐來作為日耳曼民族生存的資本和滅絕猶太人。這些思想是完全錯誤。為何呢?第一,因為這世界沒有種族鬥爭。其實種族是一種接近不存在的東西,因為大家已混到血統很親近。國家當然有,但不是漢族和蒙古族鬥爭,結果漢族滅了蒙古族的那種,那並沒有這種事。第二,所有國家與國家之間,人與人之間,民族與民族之間,那關係不是零和的,其實即是雙贏的。舉一個簡單的例子,北京中國改革開放以來,富有了很多倍,這也令美國也富有了很多倍。如果不是中國的崛起,美國的經濟也會弱很多。大家可以看到很多中國的產品在美國賣,而美國的技術也流向中國。經濟的東西永遠是雙贏的,並不是希望別人受害。如果中國經濟大蕭條,美國GDP也會跌10%左右。所以用零和遊戲思維去看世界,基本是錯誤的。
另外,國際社會絕對不是Jungle law,不是你惡就可以搶佔人的土地資源,現在沒有這一回事。自從二次大戰以來,最大的戰爭是越戰和韓戰,都是冷戰的延續。越戰之後四十多年,最大的戰爭其實1990打伊拉克,全世界一齊去打伊拉克,都是打了一兩個星期,傷亡比起一二次世界大戰都是少很多。一次大戰傷亡是800萬至1000萬,而二次大戰傷亡是5000萬至6000萬人。但打伊拉克只死幾十萬人,都是伊拉克人。而聯軍只死一萬幾千。以前的戰爭角度來講,根本不算是甚麼戰爭,只算是小型磨擦。整個世界基本上是和平的,小國全部能夠生存而且繁榮,甚至可以排在世界文明首位。最有錢文明的地方都是北歐那些小國。在東南亞最有錢的是新加坡,馬來西亞和印尼也沒有打倒新加坡。
我們這是一個文明的世界,要發達不是靠搶人的土地和資源,而是靠做生意的。搶人土地和資源,要管理當地人,又要駐軍,那是需要付出極大的代價。但是有些人是不理,繼續活在自己的野蠻世界之中,因為他們喜歡這個野蠻的世界。這是social Darwinism,把弱肉強食放在民族主義中,那是完全錯誤。
即時聊天室:http://goo.gl/ToDqof
謎米香港 www.memehk.com
Facebook:www.facebook.com/memehkdotcom
darwinism 在 memehongkong Youtube 的最讚貼文
我再補充一下我昨晚講關於社會救濟的問題。第一,永遠有幾個百分比的人是永遠照顧不了自己,以前我們會話這些人自作孽,為何自己不努力工作,為何要賭錢,為何要酗酒,為何要好嫖......但現在我們會覺得得那些人是不幸,因為他們的基因含有這個原素在當中,他們不容易受到其他的刺激而興奮,對其他事物的反應是較遲鈍,只對某事才感到樂趣,於是形成addictive癮。這不是普通人的意志力可以輕易扭轉得到,等於中世紀覺得那些人軟弱受魔鬼引誘,所以抵死。其實原理是一樣。我覺得很快可以用DNA作出治療,但未有之前,基本上是不幸多於一切。
如果一個人話寧願拿二千多元,而不去工作的人。那是完全違反人性。人性是無論你有多少錢,都會想多賺一點錢。人性是在任何情況下,都希望改善自己的生活,沒有人會覺得因只得二千多元會覺得幸福而因此在懶散,這不是基本人性。即使去到全世界最有錢的人,都想改進自己,這才是人性。所以不給人餓死,給予適當的人道救濟,雖然是干擾了一部人,令他們的生活壓力減低。舉例來講﹐如果他們沒有工作,就有機會餓死,就被迫要拾垃圾,不能不去工作。但大家知不知道在龐大壓力,有六七成人會去做其他事,好像有部分人會打劫,女人可能會做雞,有些人可能會自殺、自殘。八成人在重大壓力之下,是會被打垮;在嚴苛的環境之下,大約只有二成人會發奮。我們不能夠要人去冒這個險。
第二點我要講的,這個責任最後要甚麼人來負。最合理是由政府去承擔。因為政府的稅收大致是用我們社會認為最合理的途徑收回來。市民超過一定數目財富的才收利得稅、薪俸稅等,賣地等才抽稅。這是整個社會覺得比較公平的途徑。這個責任在整個社會。而在這個之上,我們再用一些自願的保助方式,如社會上有各種慈善服務,但如果社會沒有人做的時候,這就是全民的責任,是我們想到最公道的形式。
如果不用功利的眼光去看,這其實是我們良知的一部分,這就是所謂的惻隱之心。你見到一個人,不是話那個人會做賊有機會插死你,所以你才會救濟他。只是在門口見到有個人餓得很厲害,你已經覺得很不舒服,這個就是同理心。愈是眼前的東西,同理心的刺激愈大。舉例來講,拿刀插人一下,一般都很難做到,因為你自己也會覺得痛。那痛苦是很大的。若不是用刀而只是按制的話,然後就電他一下,要做這個會容易一點。因為那和你的直接經驗已有差距。若果電一個在另一間房的人,那又會容易一點下手。如果你按一下制,之後經過不同的轉換,那過程間接了,你又會覺得易一點。所以愈離我們遠的東西,愈不是我們的直接感受,我們同理心的發揮愈是低。所以我們要先照顧香港本地的人,即使那些人不會直接煩擾你,但你見到他們受苦,也會覺得不舒服。好像你出街的時候見到幾個人在街上餓得很辛苦,而你就去福臨門食飯,那你會覺得很開心嗎?我寧願不去福臨門食飯,去大家樂吃飯,大家一齊分享那個責任去照顧一下這些人。
問題是怎樣分擔才是公平,孔子話「食乎稻,衣乎錦于,於汝安乎?安,汝安則為之。」結果我們作為所謂的良知,就是我們作為social animal的一種天性。這包括了一個同理心,不能夠吃人肉。這都是天性的一部分。
而楊懷康講那些,就是極端海耶克分子,海耶克也不至於會那樣講。他認為完全不要救濟人,讓他們餓死為止。那些是social darwinism。即使以前的社會沒有完善的救濟,看在眼裏覺得不公平不正義的事在幾千年來都是如此。否則就不會有這兩句詩「朱門酒肉臭,路有凍死骨」。我們在一個社群裏,我們會追求某程度的公平,大家的距離不能差太遠,這就是公義,是我們天性的一部分,不能把我們的貧富拉得太遠,因為那是不公平。大家在同一社團中,大家互相合作。為何左派一直仍有市場,這就是原因。
謎米香港 www.memehk.com
Facebook: www.facebook.com/memehkdotcom
darwinism 在 Darwinism - Stanford Encyclopedia of Philosophy 的相關結果
Darwinism designates a distinctive form of evolutionary explanation for the history and diversity of life on earth. ... <看更多>
darwinism 在 Darwinism | Definition & Facts | Britannica 的相關結果
Darwinism, theory of the evolutionary mechanism propounded by Charles Darwin as an explanation of organic change. It denotes Darwin's specific view that ... ... <看更多>
darwinism 在 Social Darwinism - Wikipedia 的相關結果
Social Darwinism refers to various societal practices around the world and defined by scholars in Western Europe and North America in the 1870s that applied ... ... <看更多>