🇭🇰 HongKong
❗️ ต่างชาติจากไทยเข้าฮ่องกงได้แล้ว! แต่ยังต้องกักตัวและฉีดวัคซีนครบก่อนเข้า (เริ่ม 9 ส.ค.)
.
ยินดีกับคนไทยที่เมืองไทย 🇹🇭
แต่ #ขอแสดงความเสียใจกับคนไทยในฮ่องกงค่ะ 🇭🇰🥲
.
(ใครขี้เกียจอ่านพี่แป๋วบ่น 😆 เลื่อนไปอ่านกฎใหม่ครึ่งหลังโพสต์ได้เลยค่ะ)
.
====================
ความเห็นพี่แป๋ว รัฐบาลพลาดมากที่ออกกฎนี้มา
เหมือนเห็นตอนเกิดเวฟ 3 ที่ปล่อยลูกเรือเข้ามา ไม่ต้องกักตัว
.
ใครอยู่ฮ่องกงแนะนำรีบไปฉีดวัคซีนด่วน แล้วนับถอยหลังรอวันเริ่มเวฟ 5 เลยค่ะ มีโอกาสเกิดได้ค่ะ
.
===============
ถามว่า ทำไมพี่แป๋วมองโลกในแง่ร้ายจัง 😆
อันนี้ คือ เราต้องประเมิน worst case scenario ไว้ด้วย
.
#ที่ผ่านมาฮ่องกงไม่ได้ปลอดโควิดจริง อาจเป็นเพราะคนไม่แสดงอาการเพราะได้รับวัคซีน(หรือไม่ได้รับก็ตาม) และยังตรวจไม่เจอ
.
เพราะเท่าที่พี่แป๋วตามข่าว มีคนฮ่องกงออกไปเป็น import case ให้ประเทศอื่นแล้ว เท่าที่จำได้ เดือนที่ผ่านมาน่าจะประมาณ 5 คน (ไปโผล่ที่อังกฤษ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น)
.
แต่ที่ไม่มีเคส local ที่ “สธ ฮ่องกงขึ้นทะเบียน”
เพราะคุณ สธ เธอเล่นปัดเคสก้ำกึ่งเป็นเคส import หมด
.
เช่น คนฮ่องกงที่เดินทางต่างประเทศ แล้วติดเชื้อกลับเข้ามา นับถอยหลังไป 21 วันก็ยังมีวันที่ยังอยู่ฮ่องกง เพราะฉะนั้น มันไม่ 100% ที่จะเป็นเคส import - ถูกมะ
.
ตอนเคสพบเชื้อสายพันธุ์อังกฤษ/แอฟริกาใต้ ระยะฟักตัวเกิน 1 เดือนก็เห็นมาแล้ว
.
หรือ เคสที่พี่แป๋วยังไม่เข้าใจตรรกะของ สธ จนบัดนี้ คือ เคสตำรวจ Wan Chai ที่ติดเชื้อแบบมีอาการ ไม่เคยเดินทางต่างประเทศ ไม่เคยฉีดวัคซีน แต่ สธ ตรวจ DNA ของเชื้อ บอกว่า เหมือนเชื้อในวัคซีน สรุป คนนี้ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ - นี่คือ อิหยังวะสุดๆ 🙄
.
===============
การจะเปิดเมืองเป็นสิ่งที่ดี
แต่คุณมี Roadmap เตรียมพร้อมแบบสิงคโปร์รึยัง
คุณมีแผนปรับระบบสาธารณสุขรึยัง (เช่น home isolation สำหรับเคสไม่หนัก)
เพราะเท่าที่พี่แป๋วจำได้ตอนฮ่องกงเวฟ 4 อัตราเตียงรักษาโควิดในฮ่องกงน่าจะมีซักประมาณแค่ 1,000 เตียงหรือเกินกว่านี้เล็กน้อย
.
ไม่ควรชะล่าใจกับเดลต้านะคะ ขนาดสิงคโปร์ฉีดวัคซีนแล้ว 77% (99% ฉีด mRNA) ยังหยุดไม่ได้เลย (มีเคส 100+ ต่อวัน มา 2 อาทิตย์แล้ว) ต้องกลับไป(กึ่ง)ล็อคดาวน์กันใหม่
.
ผู้ติดเชื้อสะสมไปเรื่อยๆ มีโอกาสแตะหลักพันหลักหมื่นนะคะ เตียงรักษามีพอรึยัง?
.
วัคซีนก็พิสูจน์แล้วว่า กันติดไม่ได้ (คนฉีดไฟเซอร์ครบแล้ว รับเดลต้ากลับมาฮ่องกง มีให้เห็นแทบทุกวัน) และยังแพร่เชื้อให้คนอื่นได้อีก แล้วอัตราการฉีดวัคซีนในฮ่องกงก็ยังไม่เยอะ ประมาณ 40+% (เข็มแรก) แล้วในนี้ 40% ฉีด SinoVac อีก
.
มองยังไง พี่แป๋วก็เห็นช่องโหว่มากมายจากนโยบายจะรีบรับต่างชาติโดยอัตราฉีดวัคซีนยังแค่นี้ หรือยังไม่วางแผนระบบสาธารณสุขที่จะรองรับคลื่นมหันตภัยจากเดลต้าที่อาจเกิดได้
.
และไอ่เรื่องเฝ้าระวังตัวเอง 7 วันนี่ก็กำกวมมาก ไม่ได้ห้ามตรงๆ ว่าต้องอยู่ในที่พักอย่างเดียวนะคะ ไม่มีสายรัดข้อมือ GPS เหมือนเดิมแล้วด้วย
.
ถามว่า จะไว้ใจ #จิตสำนึก คนได้ขนาดนั้น?
นี่เห็นในเนต ไกด์บางคนกระดี๊กระด๊าแพลนรับนักท่องเที่ยวกันแล้ว (หวังว่าไม่มีแผนเที่ยวในวันที่ยังต้องเฝ้าระวังตัวเอง)
.
หรือที่เห็นชัดๆ เคสกงสุลฯ (ไม่ใช่กงสุลไทยนะ) ขนาดเป็นกงสุล ตัวแทนประเทศ ยังขาดจิตสำนัก ออกตระเวนเที่ยวจนคนฮ่องกงต้องออกไปตรวจโควิดกันเป็นร้อยเป็นพัน พิสูจน์แล้ว เรื่องจิตสำนึกคือ เชื่อถือไม่ได้ ออกเป็นกฎมาเลยดีกว่า
.
อีกเรื่อง (5555 ไปยังไม่สุด เลยยังไม่หยุดบ่น)
เรื่อง #ฉีดวัคซีน ตอนนี้ คือ มีกฎให้คนต่างชาติฉีดได้แล้ว (ออกกฎก่อนเปิดเมืองอันนี้) #แต่ไม่รวมผู้ตั้งใจเข้ามาเพื่อฉีดวัคซีน
.
ตรงนี้ จะวัดยังไง?
.
เท่าที่พี่แป๋วมองเห็น คือ ก่อนต่างชาติเข้ามา คุณต้องฉีด 2 เข็มแล้วใช่มั้ย และระบบลงทะเบียนฉีดที่ฮ่องกงหวังว่าจะมีให้ระบุว่าฉีดจากต่างประเทศเข้ามาแล้ว (เดิมยังไม่มี)
.
ถ้ายังไม่มี #ขอร้องคนไทยว่าอย่าหาทำ เห็นคนพูดกันว่า จะบึ่งมาบูสไฟเซอร์ในฮ่องกง
.
อันนี้ คุณไม่เข้าข่ายที่ฮ่องกงจะฉีดให้นะคะ #ฮ่องกงไม่ได้เปิดฟรีวัคซีนเหมือนอเมริกานะคะ และยังไม่ฉีดเข็ม 3 ขึ้นไปแม้แต่ให้คนฮ่องกงค่ะ
.
เคยมีคนสิงคโปร์(แอบ)ทำ โดนรัฐบาลฮ่องกงออกแถลงประณามและเอาผิดทางกฎหมายนะคะ
.
ย้ำ! อย่าหาทำ
.
อ่ะ! บ่นจบละ 😆 หายหงุดหงิดละ แต่เป็นห่วงฮ่องกงมากตอนนี้ ลาก่อนดินแดนแห่งการปลอดโควิด
.
เข้าเรื่องกฎใหม่เรื่องการเข้าเมืองค่ะ
พี่แป๋วขอยกเฉพาะ #ไทย🇹🇭 และ #สิงคโปร์🇸🇬 ที่ถูกจัดให้อยู่ใน #กลุ่มเสี่ยงปานกลาง นะคะ
กลุ่มอื่นๆ ถ้ามีเวลา จะมา edit เพิ่มให้ค่ะ
.
==================
#ผู้เข้าฮ่องกงจากกลุ่มประเทศเสี่ยงโควิดปานกลาง (เริ่ม 9 ส.ค.)
==================
#คนที่เข้าได้
(1) พลเมืองฮ่องกง - มีบัตรฮ่องกง หรือ วีซ่า (ไม่จำเป็นต้องฉีดวัคซีนโควิดก่อนเข้า)
(2) ผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองฮ่องกง (ต้องฉีดวัคซีนโควิดครบก่อนเข้ามา)
หมายเหตุ: อยู่ในประเทศกลุ่มเสี่ยงปานกลางตลอด 14 วันก่อนเข้าฮ่องกง
.
#เอกสารที่ต้องใช้ก่อนเดินทาง
(1) ผลตรวจปลอดโควิดแบบ polymerase chain reaction (PCR)-based nucleic acid test ก่อนเวลาไฟลท์ภายใน 72 ชั่วโมง
(2) ใบจอง รร กักตัว
(3) ผลฉีดวัคซีน ภาษาอังกฤษหรือจีน (ถ้ามี)
(4) ใบแสดงผลตรวจภูมิ (ถ้ามี)
(5) (พี่แป๋วแนะนำเพิ่มเติมสำหรับต่างชาติ - นี่ก็ช่องโหว่ รัฐบาลไทยยังรอบคอบกว่าอีก 🙄) ทำประกันสุขภาพมาด้วยนะคะ กรณีคุณมาตรวจเจอโควิดที่ฮ่องกง เพราะคุณจะต้องเข้ารักษา แต่ไม่ได้รักษาฟรี และค่ารักษาที่นี่แพงมากค่ะ
.
#จำนวนวันกักตัวในโรงแรมที่รัฐกำหนดและการตรวจโควิด แบ่งเป็น 3 กรณี
(1) (พลเมืองฮ่องกงที่ยังฉีดวัคซีนไม่ครบ)
กักตัว 21 วัน + ตรวจ 4 ครั้ง
.
(2) (พลเมืองฮ่องกงและต่างชาติที่ฉีดวัคซีนครบแล้ว)
กักตัว 14 วัน + เฝ้าระวังตัวเอง 7 วัน
+ ตรวจ 3 ครั้งระหว่างกักตัว 14 วัน
+ ตรวจอีก 2 ครั้ง (นับจากวันที่มาถึงฮ่องกงวันที่ 16 และ 19)
.
(3) (พลเมืองฮ่องกงที่ฉีดวัคซีนครบแล้ว + มีผลตรวจภูมิคุ้มกัน)
กักตัว 7 วัน + เฝ้าระวังตัวเอง 7 วัน
+ ตรวจ 2 ครั้งระหว่างกักตัว 7 วัน
+ ตรวจอีก 4 ครั้ง (นับจากวันที่มาถึงฮ่องกงวันที่ 9, 12, 16 และ 19)
.
หมายเหตุ:
- ถ้าเป็นต่างชาติ ณ ตอนนี้ เข้าข่ายข้อ (2) เท่านั้น
.
- ฉีดวัคซีนครบแล้ว หมายถึง ฉีดครบ 2 เข็มแล้วอย่างน้อย 14 วัน
วัคซีนที่ฮ่องกงรับรอง >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/list_of_recognised_covid19_vaccines.pdf
.
- การตรวจภูมิ ต้องตรวจในคลีนิคในฮ่องกงที่รัฐรับรอง #ก่อนเดินทางออกจากฮ่องกง ผลใช้ได้ 3 เดือนใครที่อยู่นอกฮ่องกงตอนนี้ ยังไม่เข้าข่ายเรื่องตรวจภูมิ
ศูนย์ตรวจที่รัฐรับรอง >> https://gia.info.gov.hk/general/202106/26/P2021062600414_370630_1_1624681922192.pdf
.
- รายละเอียดการเฝ้าระวังตัวเอง >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/selfmonitoring_travellers_ENG.pdf
.
- รร สำหรับกักตัว
(1 กย - 30 พย) >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/designated-hotel-list-v5_en.pdf
(20 มิย - 31 ส.ค.) >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/designated-hotel-list-v4_en.pdf
.
- เด็กที่อายุต่ำกว่า 12 ปี ที่ยังฉีดวัคซีนไม่ได้ ต้องกักตัว 21 วัน หากผู้ปกครองได้รับการยกเว้นกักตัวน้อยกว่า 21 วันเนื่องจากฉีดวัคซีนมาแล้ว เด็กสามารถไปเฝ้าระวังตัวเองที่บ้านต่อให้ครบ 21 วันได้ หลังจากผู้ปกครองกักตัวครบแล้ว โดยที่บ้านนั้นต้องฉีดวัคซีนครบแล้วทุกคน และห้ามเด็กติดต่อคนที่ยังฉีดวัคซีนไม่ครบ; หากทำไม่ได้ เด็กต้องกักตัวที่โรงแรม 21 วัน พร้อมผู้ปกครอง(แม้ผู้ปกครองจะฉีดวัคซีนครบแล้ว)
.
- เด็กที่ไม่ใช่พลเมืองฮ่องกง ที่มีอายุต่ำกว่า 12 ปี (ที่ยังฉีดวัคซีนไม่ได้) ไม่สามารถเดินทางเข้าฮ่องกงได้
.
Source:
https://www.info.gov.hk/gia/general/202108/03/P2021080200985.htm
.
#EatwithPalLi #พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง 🇸🇬🇭🇰
dna polymerase 在 逆齡抗癌汪郁榮醫師 Facebook 的最讚貼文
基因體重新排列組合是眾多癌症的關鍵特徵之一,它能加快突變的癌細胞生長,且幫助其產生抗藥性,使抗癌療法失效。
所有的癌症最初的開端都與基因🧬的各種錯誤有關,人體每天都有基因複製的出錯,但也有自我除錯修正的機制。然而一旦出錯大於除錯,日積月累下來小則是器官功能衰退(就是老化,例如皮膚的角化丶肉芽、斑塊增加⋯),大則成為癌症。
——
染色體破碎幫助癌細胞基因體和 ecDAN 大規模重排
近日,加州大學聖地牙哥分校醫學院的研究團隊發現「染色體破碎」(chromothripsis)會導致癌細胞基因體和染色體外 DNA(extra-chromosomal DNA, ecDNA)的大規模重新排列,進而幫助突變的癌細胞不僅逃避治療,而且更具攻擊性。該研究刊登於《Nature》期刊。
該研究團隊發現,在發生染色體破碎的過程中,細胞中的一條染色體被破碎成許多碎片,而在某些情況下甚至會被分解成數百個碎片,然後以重新排列的順序重新組裝。有些片段丟失了,而另一些則保留為 ecDNA。
先前研究發現,在許多類型的癌症中,多達一半的癌細胞含有 ecDNA 這些致癌基因。他們發現,這些 ecDNA 的一些元素能促進癌細胞生長,並形成名為「雙微體」(double minutes)的微小染色體。
染色體破碎如何幫助癌細胞產生抗藥性?
首先,該研究團隊利用 Hi-C 染色體構象捕獲技術和全基因體定序來確定癌細胞基因擴增的步驟以及對化療藥物 methotrexate 抗藥性的機制。另外,他們還確定了染色體內基因擴增後,染色質去磷酸酶如何驅動 ecDNA 的形成。
染色體破碎在最初在低表現藥物選擇下形成染色體內擴增(內部),過程中,染色體持續「破裂-融合-搭橋」循環中,產生 1 兆鹼基(100 megabases)長度的擴增子,並被夾在間期搭橋中(interphase bridges),然後破碎,從而產生了微核,其微囊化的 ecDNAs 是染色質的底物,再透過多聚ADP 核醣聚合酶(Poly ADP-ribose polymerase, PARP)為細胞進行修復功能時的重要蛋白質和 DNA依賴蛋白激酶(DNA-dependent protein kinase, DNA-PKcs)的催化次單元轉換為染色體外(外部)擴增,然後擴增的 ecDNA 可以幫助那些因化療或放射療法而受損的癌細胞 DNA 重新整合到染色體位置。
未來應用
該研究不僅描繪出染色質增生在癌細胞中 DNA 生命週期的作用,更解釋了癌細胞如何變得更具侵略性或產生抗藥性。未來可以針對此路徑,去設計且開發新的藥物,來防止抗藥性的產生,進而改善癌症患者的存活率和生活品質。
參考資料:
1. Nature (2020). https://doi.org/10.1038/s41586-020-03064-z
文章引述來源:
https://geneonline.news/index.php/2020/12/25/chromothripsis-drug-resistance/?fbclid=IwAR1yfZ32yGmU1OofBBa8R2UuS-1dgDWe5zdf9bLk-zCXptiiK4WXaDILYmc
dna polymerase 在 北歐心科學 NordicHearts Facebook 的最讚貼文
有病例,但沒病人,有沒有可能呢?
診斷武漢病,至今仍沒有所謂黃金標準(Golden standard),仍然是靠qPCR檢測。很多疾病,都要靠臨床指標判斷,然而,武漢病毒,沒有黃金標準。就算你完全沒病癥,也只會根據PCR結果被「確診」為「無病徵患者」。
由於根本不需臨床標準,沒有病,都可以有病例,甚至沒有病人,都可以有病例。
PCR,即是「聚合酶」(Polymerase)「連鎖反應」(Chain Reaction)。聚合酶,你可以想像是DNA複製器,而連鎖反應,即是不斷重複複製,一變二,二變四,四變八。所以,少量的病毒RNA殘骸,能夠倍化探測。而qPCR,即是量化版本quantitative PCR,觀察複製的速度,從而推測本來病毒的相對含量。
但是,qPCR結果,一旦實驗運行完,就只是個數字(極其量也只是一條曲線)。這只能反映複製速度,卻無法回溯被複製的源頭是什麼。病毒是否仍有活性?不知道。病毒是否仍能傳染?也不知道。甚至,源頭可以是病毒基因,也可以是人工合成的基因。事實上,用作對照的「技術陽性對照組」,就是人工合成的仿病毒DNA,用來做對照的。
要追查,就只能追溯原來的樣本。然而,樣本也可以被污染,可以是被其他樣本交叉污染,被陽性對照組污染,或者是各種各樣加錯試劑的污染。之前就出現過幾宗樣本污染,出了幾個假陽性案例。
這意味著什麼?這意味著,你有病與否,是政府說了算,確診數字多少,也是政府說了算。發一張外星人打邊爐的圖,外星人群組一日1000個確診都行。
此外,「病人失蹤」的案例,也會成為政府推動健康碼以及DNA檢測的藉口,避免你走佬,一切都是為了防疫。
林鄭月娥愛你,為了你的健康才防疫的。
dna polymerase 在 DNA Polymerase - an overview | ScienceDirect Topics 的相關結果
DNA polymerases are a group of polymerases that catalyze the synthesis of polydeoxyribonucleotides from mono-deoxyribonucleoside triphosphates (dNTPs), ... ... <看更多>
dna polymerase 在 DNA polymerases as useful reagents for biotechnology 的相關結果
DNA polymerase is a ubiquitous enzyme that synthesizes complementary DNA strands according to the template DNA in living cells. ... <看更多>
dna polymerase 在 DNA聚合酶- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
DNA聚合酶(DNA Polymerase,EC編號2.7.7.7)是一種參與DNA複製的酶。它主要是以模板的形式,催化去氧核糖核苷酸的聚合。聚合後的分子將會組成模板鏈並再進一步 ... ... <看更多>