รู้จัก Salesforce เจ้าของซอฟต์แวร์องค์กร ที่หลายบริษัทตัดทิ้งไม่ได้ /โดย ลงทุนแมน
ถ้าถามว่าบริษัทยักษ์ใหญ่ที่ประสบปัญหาเนื่องจากวิกฤติโควิด จะปรับตัวอย่างไรให้อยู่รอดได้บ้าง?
หนึ่งในวิธียอดนิยม ก็คงไม่พ้นการลดต้นทุน หรือลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น
อย่างไรก็ตาม มันก็ยังมีค่าใช้จ่ายบางประเภทที่จำเป็นถึงขนาดที่ว่าเรา “ตัดทิ้งไม่ได้”
หนึ่งในนั้นก็คือค่าใช้จ่ายด้านซอฟต์แวร์
ไม่ว่าจะเป็น Microsoft หรือ Google ที่เราใช้สำหรับจัดทำเอกสาร
หรือ Adobe ที่เป็นหัวใจสำคัญสำหรับงานกราฟิกทุกประเภท
สำหรับวันนี้ เรามารู้จักกับอีกหนึ่งบริษัทอย่าง Salesforce
ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ประเภท Customer Relationship Management (CRM)
หรือ การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า ที่หลายบริษัทก็ตัดทิ้งไม่ได้ เช่นกัน
แล้วทำไม Salesforce จึงเป็นต้นทุน
ที่หลายบริษัทใหญ่ไม่สามารถตัดออกได้?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
บริษัท Salesforce อ่านว่า เซลส์ฟอร์ซ มาจากคำว่า “Special Force” ก่อตั้งในปี 1999
โดย Marc Russell Benioff
เขาคนนี้เคยเป็นอดีตพนักงานที่บริษัท Oracle Corporation ยาวนานถึง 13 ปี
โดย Oracle ก็เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการซอฟต์แวร์องค์กรระดับโลก และ Benioff
เป็นผู้บริหารที่มีอายุน้อยที่สุด ซึ่งขึ้นรับตำแหน่งเป็นผู้บริหารในวัยเพียงแค่ 26 ปี เท่านั้น
แล้ว Benioff มองเห็นอะไร
ถึงลาออกมาเริ่มทำบริษัท Salesforce?
สิ่งที่เขาคิดว่าเป็นปัญหา สำหรับคนทำงานก็คือ เราเสีย “เวลา” และ “พลังงาน”
ไปกับกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
และที่สำคัญไปมากกว่านั้นคือ ยังไม่มีใครทำซอฟต์แวร์ที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการในด้านนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พอเรื่องเป็นแบบนี้ Benioff ก็ได้นำคอนเซปต์การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้ามาพัฒนาเป็นซอฟต์แวร์ และนำมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีคลาวด์ให้ผู้ใช้งานเข้าถึงข้อมูลการบริหารจัดการลูกค้าในที่เดียว
แล้วแค่ซอฟต์แวร์บริหารจัดการข้อมูลลูกค้า
มันจำเป็นถึงขนาดเป็นค่าใช้จ่ายที่ตัดไม่ได้?
หากเรายังจินตนาการไม่ออก
ลองคิดว่า ถ้าเราเป็นเจ้าของผู้ให้บริการท่องเที่ยว
ต้องบริหารพนักงานเป็นหมื่นคน
ติดต่อกับคู่ค้าทางธุรกิจหลายราย
ต้องตรวจสอบปัญหา ข้อเสนอแนะจากลูกค้า
แล้วเราจะมีกลยุทธ์บริหารจัดการทั้งหมดนี้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด
เทคโนโลยี กับรูปแบบการใช้งานของ Salesforce จึงถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย และสามารถแก้ไขเรื่องราวเหล่านี้โดยเฉพาะเพราะเราสามารถอัปเดตข้อมูล จัดการลูกค้า และตรวจสอบความเคลื่อนไหวของกิจกรรมเหล่านี้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
โดย Benioff ได้วาดเส้นทางรูปแบบการให้บริการ
ที่สร้างรายได้กับ Salesforce มีอยู่ 2 ส่วน แบ่งออกเป็น
การจัดทำข้อมูลรายงานการขาย หรือที่เรียกว่า Sales Report & Funnel
ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือที่เรียกว่า CRM
สองส่วนนื้จะช่วยประหยัดเวลาในการทำรายงานสำหรับการขาย และยังนำพลังงานไปใช้ในการพูดคุยกับลูกค้า เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้สูงสุด
และสิ่งที่ตอบโจทย์มากไปกว่านั้นคือ Benioff ได้ทำการเข้าซื้อบริษัท Tableau มูลค่า 4.5 แสนล้านบาท เพื่อนำเทคโนโลยีการบริการจัดการข้อมูลในรูปแบบของ Big Data และ Data Visualisation มาพ่วงเข้ากับบริการดั้งเดิมของ Salesforce
จนตอนนี้ Salesforce ก็ได้กลายเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถบริหารจัดการข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับลูกค้าทั้งหมดได้อย่างครบวงจร และสามารถประมวลผลให้เราว่า
กิจกรรมใดในอดีตที่ทำแล้ว ก่อให้เกิดมูลค่ากำไรทางธุรกิจ
แล้วข้อมูลตลาดปัจจุบันมีความสอดคล้องอย่างไรบ้าง ที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ
การพัฒนาการให้บริการทั้งหมดนี้ ตอบโจทย์ Pain Points ของผู้ใช้งานได้ทั้งหมด
แล้วที่ผ่านมา Salesforce เติบโตมากขนาดไหน?
ปี 2018 รายได้ 317,000 ล้านบาท กำไร 3,850 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 412,000 ล้านบาท กำไร 33,610 ล้านบาท (มีกำไรพิเศษ)
ปี 2020 รายได้ 517,000 ล้านบาท กำไร 3,810 ล้านบาท
(รอบบัญชีของบริษัทเริ่มตั้งแต่กุมภาพันธ์ปี 2019 ถึงมกราคม ปี 2020)
รายได้เติบโตเฉลี่ย 28% ต่อปี ซึ่งถือว่าสูงมากเมื่อเทียบกับอัตราการเติบโต
ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันที่เติบโตเฉลี่ย 8% ต่อปี
โดย Salesforce มีส่วนแบ่งรายได้มาจาก
การเก็บค่าบริการรายเดือนของลูกค้าบริษัท และการให้บริการระบบคลาวด์ 94%
การให้บริการประเภทอื่นๆ เช่น การจัดสัมมนาอบรม และสัญญาจ้างเพิ่มเติม 6%
แล้วตอนนี้ Salesforce ใหญ่ขนาดไหน?
หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า
แม้ Salesforce จะเกิดขึ้นมาจากอดีตผู้บริหารของ Oracle
แต่ตอนนี้ Salesforce มีมูลค่าบริษัท 7.1 ล้านล้านบาท
ซึ่งมูลค่าระดับนี้ใหญ่เป็น 1.4 เท่าของบริษัท Oracle แล้ว
อ่านมาถึงตรงนี้
เราก็คงสรุปได้ว่า นอกจาก Microsoft, Google, Adobe แล้ว Salesforce ก็เป็นอีกหนึ่งบริษัทที่กลายเป็นของขาดไม่ได้ในการทำงานของบริษัทอื่นๆ ไปแล้ว แม้ว่าบริษัทนั้นจะเผชิญกับวิกฤติในรูปแบบไหน ก็ตาม..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.sales100million.com/
-https://www.salesforce.com/
-https://finance.yahoo.com/quote/CRM/financials?p=CRM
-https://www.statista.com/forecasts/954176/global-software-revenue-by-segment
-https://s23.q4cdn.com/574569502/files/doc_financials/2020/ar/Salesforce-FY-2020-Annual-Report.pdf
-https://www.dmit.co.th/th/zendesk-updates-th/what-is-crm-software-2
-https://www.salesforce.com/crm/what-is-crm-infographic/
「zendesk line」的推薦目錄:
- 關於zendesk line 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於zendesk line 在 半路出家軟體工程師在矽谷 Facebook 的最佳貼文
- 關於zendesk line 在 旅行熱炒店Podcast Facebook 的最讚貼文
- 關於zendesk line 在 sunshine-conversations-java/docs/Line.md at master 的評價
- 關於zendesk line 在 Instruction Support - Social Media in Zendesk Videos 的評價
- 關於zendesk line 在 Line Breaks in New Ticket comments - zendesk api 的評價
- 關於zendesk line 在 Creative Zendesk, Icons, Line, Tim, and Office image ideas ... 的評價
zendesk line 在 半路出家軟體工程師在矽谷 Facebook 的最佳貼文
最有效得到面試的方式- 內部推薦: 尋找內推資源 & 歹晚郎互助網絡 (2020 年 11 月更新)
自從上次更新之後, 我最近又詢問了許多我過往參加活動的校友網路, 比如說大學參加過的 資訊種子 及 SITE 國際經貿事務研習會, 拉更多熱心的朋友加入一起幫忙, 目前新增 Trend Micro 趨勢科技, Alibaba 阿里巴巴, Mailchimp, Shopify, LINE, Equinix, Rakuten (Japan), Dell 的內推名單, 也讓內推網路從一開始大約 10 間公司累積到超過 50 間公司了! 也有幾間公司的朋友即將加入, 請大家拭目以待。
期待日益增長的網絡可以幫助更多人, 也希望有能力的朋友, 所在公司目前不在名單上,不論你在世界任何地方, 也加入幫忙!
各大科技公司: FAANG (Facebook, Apple, Amazon, Netflix, Google), Uber, Pinterest, Airbnb, Pinterest, NVIDIA, Tesla, Square, Microsoft, LinkedIn, 或是騰訊、字節跳動、阿里巴巴、蝦皮等都有朋友可以幫忙內推, 目前共有 53 家公司, 詳細名單包含: Facebook, Apple, Google, Amazon, Netflix, LinkedIn, Nvidia, Oracle, Airbnb, Uber, Pinterest, Affirm, Intuit, SAP, Quora, The Hut Group, CFGI, Salesforce, Zendesk, Instacart, Shopee, Better.com, Qualcomm, Workday, ASML, Ambarella, Cisco, Foodpanda, Southland Industries, Tile, Palo Alto Networks, Zillow, Tesla, VMWare, Adobe, Warner Media, Square, Personalis, Bytedance, IBM, Microsoft, Tencent, McKinsey, Stripe, Trend Micro, Alibaba, Mailchimp, Shopify, LINE, Equinix, Rakuten, Dell。
部落格原文及公司內推資料所需表格:
https://brianhsublog.blogspot.com/2019/03/internalReferralAndTaiwanNetwork.html
zendesk line 在 旅行熱炒店Podcast Facebook 的最讚貼文
2019亞洲旅行日記(3):拜訪東京辦公室(下)
(前情提要:https://www.facebook.com/lifetimesojourner/posts/441113810085905)
.
十幾個人浩浩蕩蕩的穿過東京下班時間的車水馬龍,來到隱身於八重洲口附近小巷中、號稱擁有北海道直送海鮮的居酒屋ときしらず。才一坐下來,同事立馬豪爽的把生魚片、燒烤和清酒點了下去,接著氣氛很快就熱絡了起來,和半個小時前在辦公室裡的緊張感截然不同。幾點觀察:
- 同事們很熱心地教我們這些「歪果人」各種餐桌文化,例如服務生把鮭魚卵一匙接著一匙淋在飯上時,要跟著喊「おいさ」(oisa)。
- 足立桑在叫女性服務生的時候,毫不猶豫地直呼「お姉さん」(onesan),這是否是和某些華人圈子近年來流行叫服務員「姐姐」是類似的概念呢?
- 吃到一半,桌邊突然出現了面容姣好的年輕女子,我隔壁的男性同事和她對話幾句之後5000日圓就掏出來了,買了幾包裡面不知道是什麼的小東西。後來一問,才恍然大悟,原來是解酒藥啊。(其他同事不斷的虧他:「他是因為看那個妹很正才買的啦!」)
.
居酒屋結束後,眾人又移師到附近的德國小酒館フランツィスカーナー バー&グリル繼續二次會。日本同事們大多年紀和我接近、英文流利而且非常敢講,藉著工作、日劇和偶像宅等話題,我們很快就聊開了。我也順勢問起他們在亞洲這邊的工作情況,以及公司在亞太地區的運作。
「請問東京這邊在招人的時候會考慮英文程度嗎?我感覺你們所有人英文都超好的!」
「不一定。」從新加坡來出差的部門主管說,「其實在這邊工作和客戶當然都是講日文,英文反而沒那麼重要。」但他接著又馬上補充,「但有一件事情上英文很重要,那就是公司內部的訓練課程,至少要英文的課程聽得懂、有辦法閱讀內部文件。這才是最需要英文的地方。」
長知識了。原來外商公司之所以重視英文,主要是為了內部溝通啊!明明很簡單的道理,為什麼以前從來沒想通過呢?
.
另一件值得一提的事,是當天一位銷售工程師(sales engineer)的對話,他是全東京辦公室唯一一位工作上需要寫code的人。同樣身為碼農,彼此之間的共通語言讓我們相談甚歡,聊到最後他甚至乾脆把電腦打開來,直接demo給我看他做的東西。
「我自己寫了個HubSpot和Line的整合(integration),客戶在Line上面發的訊息會被自動帶入HubSpot的系統中。」
「欸我覺得這個超酷的!而且不只是日本,台灣人也用Line,有Line的整合一定對亞洲市場很有幫助!」
這整個有讓我驚豔到——平常在美國總部裡工作,知道公司產品有上百個整合應用(gmail、slack、facebook、zendesk等),但卻從來沒有想過,一個產品要在另一個市場生存,需要的不只是i18n和l10n(國際化與在地化),有時候還得根據市場需求開發出不同的整合應用!只能說可能人在美國待久了就會不小心過得太安逸、以為全世界就是用這裡的規則在運作吧。
相較於我因為被驚豔到而興奮不已,工程師同事維持一貫的的冷靜沈著,讓人感覺這對他而言不過是「正常發揮」。
.
晚上十點半,告別了熱情的同事們,我一個人走在日本橋附近人潮已經退去、招牌一一熄滅的小巷子裡,想著剛剛這幾個小時的經歷。本來以為只是來當觀光客隨便打擾一下,誰知道後來卻被請客吃了大餐(感恩公司、讚嘆公司XD)、和同事聊了這麼多,甚至順便連都柏林與新加坡的同事都搭上線了呢?
身為一個一天到晚想著要到處亂跑(套用家父對我的評語)、比起和電腦對話更渴望與人交流的人,我有時候對於自己的工程師職業覺得會有點悲觀,擔心自己會就這樣繼續被關在美國總部的電腦螢幕前、一直寫code直到退休為止;然而,這趟意外的「自費偽出差」,卻讓我看到了一線曙光——認識了亞太地區的同事們、稍微體驗到了一點這裡的辦公室文化,最重要的是那個驚艷到我的line整合demo,讓我意識到即使身為成天埋頭寫code的碼農,我的工作與美國以外的世界未必如此遙遠。
zendesk line 在 Instruction Support - Social Media in Zendesk Videos 的推薦與評價
English - Social Media in Zendesk Video 5 - Guest's View on WhatsApp. What the Guest Sees on Line. Return to Video Links. Zendesk Instruction Completion Form. ... <看更多>
zendesk line 在 sunshine-conversations-java/docs/Line.md at master 的推薦與評價
Smooch API Library for Java. Contribute to zendesk/sunshine-conversations-java development by creating an account on GitHub. ... <看更多>