บิดาแห่ง Antivaxxers - นักวิจัยผู้บิดเบือนผลการทดลองวัคซีนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง
โรคหัดเคยเป็นโรคหนึ่งที่คร่าชีวิตเด็กทั่วโลกไปกว่าปีละ 2.6 ล้านคน จนกระทั่งเริ่มมีการผลิตวัคซีน MMR หรือ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ขึ้นมาในปี 1971 โดยใช้ไวรัสมีชีวิตจากไวรัสที่ทำให้ก่อโรคทั้งสาม ทำให้อ่อนกำลังลง ปัจจุบัน วัคซีน MMR นี้เป็นวัคซีนหลักที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลกฉีดให้เด็กกว่า 100 ล้านคนทุกปี ส่งผลทำให้อัตราการเสียชีวิตลดลงเหลือเพียง 122,000 คน ในปี 2012 ซึ่งส่วนมากเกิดขึ้นในประเทศด้อยพัฒนา
แต่ในปี 1998 งานวิจัยที่นำโดย Andrew Wakefield ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร The Lancet พร้อมทั้งได้ออกแถลงข่าวผลงานวิจัย ที่ได้ศึกษาเด็ก 12 คนที่มีอาการของ autism และได้ตรวจพบอาการใหม่ในเด็ก 8 จาก 12 คน ที่เรียกว่า “autistic enterocolitis” ที่ทีมนักวิจัยอ้างว่าเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีน และมีความเชื่อมโยงระหว่างโรคในระบบทางเดินอาหารที่พบกับการพัฒนาการที่นำไปสู่โรคออทิซึ่ม ในการแถลงข่าวนี้ Wakefield จึงได้เรียกร้องให้มีการหยุดให้ MMR vaccine โดยสิ้นเชิง จนกว่าผลกระทบจะได้รับการศึกษาอย่างถี่ถ้วน และทดแทนด้วยการฉีดวัคซีนแยกชนิดกันแทน
ซึ่งผลของงานวิจัยนี้แน่นอนว่าสร้างความสะท้านไปทั่วโลก เนื่องจากวัคซีน MMR เป็นวัคซีนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากไปแล้วในปัจจุบัน และการค้นพบความเชื่อมโยงของผลเสียของวัคซีนต่อพัฒนาการของเด็ก ที่นำไปสู่โรคออทิซึ่มนั่น แน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก จึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากต่อสื่อทั่วโลก
แต่… ในเวลาที่ตามมา ความไม่ชอบมาพากลหลายๆ อย่างเกี่ยวกับ “งานวิจัย” นี้ ก็ค่อยๆ โผล่ขึ้นมาให้เห็น นักข่าว Brian Deer ได้ไปขุดพบเอกสารที่บ่งชี้ว่า Wakefield ได้มีการยื่นขอสิทธิบัตรในการทำวัคซีนแยกเข็มเดี่ยว ก่อนที่จะมีการทำงานวิจัยที่เรียกร้องให้มีการยกเลิกเข็มรวมไปแยกเป็นเข็มเดี่ยว รวมไปถึงแผนที่จะหากำไรจากการผลิตเครื่องตรวจออทิซึ่มที่อาจทำเงินได้ถึง $43 ล้านต่อปี มีการเปิดเผยให้เห็นว่าก่อนจะเกิดการทดลองนี้ขึ้น ผู้ปกครองของเด็กทั้ง 12 คนนี้กำลังติดต่อกับทนายความเพื่อที่จะดำเนินคดีต่อผู้ผลิตวัคซีน และได้มอบเงิน 55,000 ปอนด์แก่รพ. เพื่อทำงานวิจัยชิ้นนี้ นอกจากนี้ตัว Wakefield เองยังได้รับเงินกว่า 400,000 ปอนด์จากเหล่าทนายที่กำลังเตรียมคดีฟ้องผู้ผลิตวัคซีน MMR ซึ่งในกรณีนี้ในทางวิชาการนั้นจัดว่าเข้าข่าย “มีผลประโยชน์ทับซ้อน” (Conflict of Interest) ที่ Wakefield ไม่ได้แจ้งไว้แต่ในภายแรก
แม้ว่าจะไม่ถึงกับห้ามทำงานวิจัยเมื่อมีผลประโยชน์ทับซ้อนเสียทีเดียว แต่การไม่แจ้ง Conflict of Interest นั้นนับเป็น Research Misconduct ที่ค่อนข้างร้ายแรง แน่นอนว่าการมีผลประโยชน์ทับซ้อนนั้นส่งผลเป็นอย่างยิ่งต่อความเป็นกลางของผู้ทำการทดลอง ซึ่งหากผู้รีวิวได้รับรู้ถึง Conflict of Interest ล่วงหน้า และเป็นที่แน่ชัดว่าผู้ทำวิจัยนั้นได้รับผลประโยชน์บางอย่างหากผลงานวิจัยจะออกไปในทางใดทางหนึ่ง เจตนารมณ์และความเป็นกลางของผู้วิจัยย่อมจะต้องถูกนำมาตั้งคำถาม และตัวงานวิจัยจะต้องถูกพิจารณาอย่างถี่ถ้วนยิ่งขึ้น เช่นเดียวกัน ในโลกปัจจุบันผู้ผลิตวัคซีนแต่ละชนิดนั้นเป็นผู้ที่จะต้องทำงานวิจัยเพื่อยืนยันผลด้วยตัวเอง ซึ่งฝ่าย reviewer ก็จะคาดหวังมาตรฐานที่สูงกว่าเพื่อแสดงให้เห็นว่าในทุกขั้นตอนการวิจัยนั้นไม่ได้มีการ “ตุกติก” หรือแก้ผลเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ
สำหรับวารสาร Lancet นั้น ตัว editor-in-chief เองก็ได้ออกมาบอกในภายหลังว่า งานวิจัยของ Wakefield นั้นมีจุดบกพร่องเป็นอย่างมาก และหากเหล่า peer reviewer ได้แจ้งถึง Conflict of Interest อย่างชัดเจนแต่แรกแล้ว น่าจะไม่มีทางที่งานวิจัยนี้จะได้รับการรับรองแต่แรก
นอกไปจากนี้ Wakefield ได้ทำการเปิดแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชน ตั้งแต่ก่อนที่งานวิจัยจะได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการ ซึ่งในทางการวิจัยแล้วจัดเป็น “Science by press conference” (การทำงานวิจัยผ่านการแถลงข่าว) ซึ่งขัดต่อหลักการงานวิจัยที่ควรจะเป็น นั่นคือนักวิจัยควรจะมีหน้าที่ได้รับการยอมรับและติติงและยืนยันผลจากนักวิจัยด้วยกันก่อนที่จะนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพราะงานวิจัยนั้นควรจะทำไปเพื่อหาความจริง ไม่ใช่เพื่อชื่อเสียง และเมื่อพิจารณาจาก Conflict of Interest ของ Wakefield ที่กล่าวเอาไว้ล่วงหน้าแล้วนั้นก็ยิ่งทำให้อดตั้งคำถามถึงแรงจูงใจที่แท้จริงของผู้วิจัยไม่ได้
แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือ งานวิจัยที่ผู้อื่นพยายามทำต่อมาในเบื้องหลังนั้น ไม่ได้ค้นพบผลที่ยืนยันการค้นพบเดิมของ Wakefield แต่อย่างใด ในปี 2005 BBC ได้อ้างอิงถึงงานวิจัยหนึ่งที่ได้ทดลองตรวจเลือดเด็กที่มีอาการออทิซึ่ม 100 คน และ 200 คนที่ไม่มีอาการ และพบว่ากว่า 99% นั้นไม่ได้มีเชื้อโรคหัดเท่าๆ กันทั้งสองกลุ่ม Institute of Medicine (IOM), United States National Academy of Sciences, CDC, UK National Health Service ต่างก็ไม่พบความเชื่อมโยงใดๆ ทั้งสิ้นระหว่างโรคออทิซึ่มและ MMR ในประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีการฉีดวัคซีนสามอย่างนี้แยกจากกัน ก็ไม่ได้พบว่ามีอัตราการเกิดออทิซึ่มแตกต่างจากประเทศอื่นที่ใช้ MMR รวมกันแต่อย่างใด นอกไปจากนี้ รีวิวต่างๆ ในวารสารงานวิจัยทางการแพทย์ก็ไม่เคยพบความเชื่อมโยงระหว่างวัคซีนกับออทิซึ่ม หรือแม้กระทั่งโรคระบบทางเดินอาหาร และก็ไม่เคยมีใครค้นพบ “autistic enterocolitis” ที่ Wakefield อ้างอิงถึงในงานวิจัยแต่อย่างใด
ผลสุดท้าย UK General Medical Council (แพทยสภาของอังกฤษ) ก็ได้เปิดการไต่สวน และได้ตัดสินว่า Andrew Wakefield ได้ทำความผิดร้ายแรง ฐานไม่สุจริต 4 กระทง ใช้ประโยชน์จากเด็กที่มีพัฒนาการต่ำ 12 กระทง ทำการทดลองที่ไม่จำเป็นและไร้ความรับผิดชอบต่อเด็กในการทดลอง การทดลองไม่ได้ผ่านบอร์ดคณะกรรมการจริยธรรม และไม่ยอมเปิดเผยถึงผลประโยชน์ทับซ้อน และ GMC ได้ระบุว่า Wakefield นั้น “ล้มเหลวโดยสิ้นเชิงต่อความรับผิดชอบในหน้าที่ของแพทย์ผู้ให้คำปรึกษา” จึงได้ถอด Andrew Wakefield ออกจากทะเบียนแพทย์ และยึดใบประกอบโรคศิลป์ในประเทศอังกฤษ
ส่วนตัววารสาร Lancet เองก็ได้ยื่น full retraction ถอดถอนงานวิจัยนี้ออกไป โดยตัว co author 10 จาก 12 คนในงานวิจัยนี้ก็ได้ออกมายื่นขอ retract เช่นเดียวกัน โดยกล่าวว่าแม้การค้นพบจะตั้งคำถามที่น่าสนใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของวัคซีน แต่ตัวงานวิจัยนั้นไม่สามารถยืนยันถึงความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทั้งสองได้แต่อย่างใด
แต่แม้ว่างานวิจัยจะถูกถอดถอน ผู้ทำวิจัยจะถูกปลดจากวิชาชีพไปแล้ว แต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยลวงโลกนี้ก็ได้เกิดขึ้นไปแล้ว มีการประเมินว่างานวิจัยที่ตีพิมพ์โดย Lancet นี้ อาจจะเป็น “ข่าวลวงโลกที่ร้ายแรงที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20” เพราะนับแต่นั้นมา ทั้งในอังกฤษและไอร์แลนด์ต่างก็พบว่ามีผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนเพิ่มมากขึ้น จนโรคหัดและคางทูมเริ่มกลับมาระบาดอีกครั้งหนึ่งในหมู่ผู้ที่ปฏิเสธวัคซีน และกระแส Anti-vaccine หรือที่เราเรียกกันว่า “Antivaxxers” ก็เริ่มจุดติดนับแต่นั้นเป็นต้นมา และหนึ่งในข้อกล่าวอ้างของผู้ที่ปฏิเสธวัคซีนที่แพร่หลายมากที่สุดก็คือ “วัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม” ซึ่งก็เริ่มต้นมาจากงานวิจัยลวงโลกของ Andrew Wakefield นี้นั่นเอง จนในทุกวันนี้ ชาวอเมริกันจำนวนมากที่สามารถเข้าถึงวัคซีน mRNA ใหม่ที่ป้องกันโควิด-19 กลับปฏิเสธที่จะรับวัคซีนฟรีจากความกลัววัคซีน ที่ Andrew Wakefield เป็นผู้ก่อ
ส่วนเจ้าตัวก่อเรื่องเองนั้น… แน่นอนว่าเขาก็ยังคงปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยยังยืนยันผลเดิมว่าวัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม และเขาเองนั้นไม่ได้มีผลประโยชน์ทับซ้อนใดๆ ทั้งสิ้น แต่เขาต้องเป็นจำเลยของสังคม เขามีปากเสียงกับ Brian Deer นักข่าวผู้เปิดโปงและแฉเขาอยู่บ่อยๆ ซึ่ง Deer ก็ได้ออกมาตอบโต้ว่า “ถ้าคิดว่าไม่จริงก็ฟ้องมาสิ มาพิสูจน์กันเลย แล้วถ้าผมโกหกคุณก็จะกลายเป็นคนที่รวยที่สุดในอเมริกา” ซึ่งที่ผ่านมา Wakefield ก็ได้ถอนการฟ้องร้องคดีหมิ่นประมาทไปทุกกรณี และ Brian Deer ก็ได้รับรางวัลเป็น UK's specialist journalist of the year ใน the British Press Awards จากกรณีเปิดโปง Wakefield นี้
ปัจจุบัน Andrew Wakefield ได้ย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากเหล่าสาวก Antivaxxer อยู่จนถึงทุกวันนี้ เป็นหนึ่งในแกนนำที่คอยเรียกร้องต่อต้านกม. ที่จะบังคับให้คนฉีดวัคซีนอยู่เสมอ รวมไปถึงเป็นผู้กำกับภาพยนต์สารคดีลวงโลกเรื่อง Vaxxed: From Cover-Up to Catastrophe และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ที่ได้รับจากความโด่งดังอันเกิดจากงานวิจัยลวงโลกเช่นนี้อยู่ต่อไป
หมายเหตุ: ปัจจุบันไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ ทั้งสิ้น ที่สามารถเชื่อมโยงการเกิดโรคออทิซึ่ม กับการฉีดวัคซีน
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/MMR_vaccine
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Lancet_MMR_autism_fraud
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Andrew_Wakefield
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅Sarah Tang,也在其Youtube影片中提到,快來訂閱Sarah吧►https://goo.gl/2wSaqs 追蹤我的生活►IG:https://goo.gl/2Tcnfz 今集會有更多S小姐買樓親身經驗, 真係唔講唔知原來買樓係會遇到這些問題!!! 學到好多野, 大家記住要抄筆記啊xd [英國買樓] 英國Council都會破產?! 買樓...
「research council uk」的推薦目錄:
- 關於research council uk 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的精選貼文
- 關於research council uk 在 百工裡的人類學家 Facebook 的最佳貼文
- 關於research council uk 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最佳解答
- 關於research council uk 在 Sarah Tang Youtube 的最佳貼文
- 關於research council uk 在 Economic and Social Research Council - Home | Facebook 的評價
- 關於research council uk 在 Research Councils UK: USA Collaboration. #RCUK - YouTube 的評價
research council uk 在 百工裡的人類學家 Facebook 的最佳貼文
城市地景的樣貌往往受到政治、經濟、歷史、社會等許多條件的作用與影響,也形塑人們在其中的實踐、認同與體會。這則選自 【CUP】的文章,讓我們從英國對於社區規劃將人口分類與集中的方式所造成的「年齡隔離」對於世代之間日常生活的社會互動產生的作用力,一起思考社區空間重新創造不同族群共同生活多元交流的可能。
----
“Harris 坦言,世代差異絕非新課題,但如此兩極卻是史無前例,背後相信與英國的社區規劃有關。如今走到英國城鎮的郊區,都會看到一幅幅相類似的風景:養老院建設在遠離道路的地段,使長者與周遭社區隔絕;相對 1970 年代,郊區居民的年齡分佈相當平均,既有 20 來歲的新婚家庭,也有 60 來歲的退休長者。Harris 認為,這不但導致年輕世代與長者難以交流,兩者生活經驗也有天壤之別。
在現今倫敦、伯明翰、曼徹斯特等大城市,約莫半數人口都是以 30 歲以下年輕人為主,老年人普遍遷居到市郊或海邊居住。英國研究機構 Economic and Social Research Council 的報告,把不平均的年齡分佈現象稱為「年齡隔離」(age segregation),在 2001 至 11 年間,英格蘭和威爾斯有嚴重「年齡隔離」的社區倍增至超過 2,000 個;年齡中位數過 50 歲的社區數目,在 1991 至 2014 年間亦增加 7 倍。
在地理分野以外,不同年齡層的歷史經驗分別,同樣主宰他們的政治取態。老年人經歷過相對安穩的戰後秩序,懷緬過去的穩定,同時又傾向埋怨現今世界動盪不安;年輕人卻傾向視 21 世紀為開放多元的時代,不惜以行動糾正現實的不公。Harris 相信,雙方對立並非必然,分歧是隨著地理上的區隔而加劇。
如何修補世代間的撕裂?Harris 則引述創新社會企業 United For All Ages 最新報告 Together in the 2020s。報告勾勒出日益加劇的年齡隔離與孤獨問題,還綜合不同聲音,建議設立跨世代的住屋計劃,加強院校與長者社區計劃合作,鼓勵大學向更多不同年齡層開放學位。總部設於利物浦的社區計劃 Homeshare UK 便負責配對年長業主與年輕租戶,讓年輕人提供每週 10 小時勞動以換取免租住宿,期望促進世代溝通;有荷蘭城市亦領風氣之先,安排年輕人教導退休長者新技能,譬如使用電郵或社交媒體,以換取與長者共居的免費宿舍。”
(引用自https://www.cup.com.hk/2020/01/21/britain-generation-gap/?fbclid=IwAR1AziUyUhqkpmoxju1cgiTCV8yr7ybzLq3f0dok6IRfN7y4n--tU85ydT8#.XkyCXEE4TGY.facebook)
research council uk 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最佳解答
#反送中 #撤回惡法
// 若然無法確保犯人有足夠人權保障,Day One 就不應建立引渡關係,絕非特區政府一句「相信」,便將香港人送往沒有人權保障的國度 //
───────
█ 解密過去🔓重掌未來 █
💰捐款支持:http://bit.ly/2IVW56L
📖研究成果:https://medium.com/@decodinghkshistory
🗂計劃詳情:https://researchforfuture.hk
📱instagram:https://www.instagram.com/decodinghkshistory
📧聯絡 #香港前途研究計劃: m.me/decodinghkhistory
【一句「相信」就可令大陸保障人權?】
建制派集體聯署要求提高移交門檻到七年或以上,惟料不到12小時,保安局局長李家超已經極速「𦧲飯應」接納建議。相反,繼歐盟28國等反對後,美國商會再度發表強硬聲明表達「不收貨」,要求政府澄清如何釋除外界的擔憂以免香港國際樞紐的地位受損(註一);英加亦罕有發表聯合聲明,指修訂有損《中英聯合聲明》所保障的人權自由(註二),但只獲特區政府「冷處理」。種種跡象可見,特區政府只求「箍夠票」,完全無視國際社會反對修例背後、對於大陸司法制度的不信任。
坊間較少觸及的便是李家超所謂的「人權保障」,即移交時會加入「公開審訊」、「有律師代表」等要求。但當記者多次問到大陸反口時,特區政府如何應對,李家超只道「好深信呢啲承諾必然會履行」。這顯示所謂人權保障只是一紙空話,沒有解決外界擔心的司法不公問題,一旦大陸「反口唔認數」,出現央視認罪、秘密庭審,特區政府完全是無計可施。
正正是條文上無法保證大陸不反口,香港過往與外國簽署引渡協議時,千方百計防止香港與大陸不公的司法制度接軌。根據解密檔案,香港起初以一份「範例協議」(model agreement),與各商討引渡協議,但範例協議本身沒有條文防止逃犯再移交至中國大陸或其他地方。
為了堵截漏洞,荷、美、澳、加等國與香港商討引渡時,異口同聲要求加入條文防範。譬如荷蘭代表與香港商討引渡協議直言,大陸司法制度,以及大陸法院能否維持公平公正的審訊水平與別不同(its totally different judicial system and standards of justice),故要求加入「不再移交條款」,確保在沒有外國同意下,疑犯不會被送到其他地區。
美國立場更加明確具體地針對中國,表明未得到美國同意,疑犯不會再移交到中華人民共和國(assurance that a person extradited to Hong Kong will not be transferred involuntarily [deported, even] to the PRC)。由此可見,香港與外國的引渡協議,從一開始就建基於香港與大陸之間的「不引渡」。
回到今日,《逃犯條例》修訂比當年影響更深,送到大陸的不再是當年所擔憂、移交到香港的疑犯,而是更進一步,影響任何一位在香港生活甚或只是路經香港的香港人及外國人,但港府貿然與大陸建立引渡關係、所謂人權保障只是聊備一格。
事實上,是否有機制保證犯人得到公平審訊,從來是各國與中國簽訂引渡協議前的重大考量。例如與中國簽訂引渡協議、12年仍未完成本地立法的澳洲,其中一個死因便是無法保證中國會有公平審訊。澳洲律師公會甚至直言,即使澳洲單方面要求中國履行公平審訊,但最後只能「仰賴決策者的酌情權,亦受到不同因素影響」(a bilaterial discussion … to discess specific fair trial concerns would rely on the discretion of both States. This discretion may potentially be influenced by a wide range of factors)(註三),故保障並不足夠。換言之,中方不做亦無可奈何,亦是澳洲迄今仍未落實中澳引渡協議的原因。
可見在外國眼中,若然無法確保犯人有足夠人權保障,Day One 就不應建立引渡關係,絕非特區政府一句「相信」,便將香港人送往沒有人權保障的國度。
註一:American Chamber of Commerce in Hong Kong. Press release: Proposed Fugitive Offenders Ordinance. https://www.amcham.org.hk/…/press-release-proposed-fugitive…
註二:Foreign & Commonwealth Office. UK and Canada joint statement on Hong Kong. https://www.gov.uk/…/uk-and-canada-joint-statement-on-hong-…
註三:The Law Council of Australia. Supplementary Submission – Australia – China Extradition Treaty. https://www.lawcouncil.asn.au/…/3151_-_S_-_Supplementary_Su…
參考檔案:
1992 FCO 40/3773 Hong Kong Extradition Agreement with France
1991 FCO 40/3399 Hong Kong Extradition Agreement with the Netherlands
1991 FCO 40/3400 Extradition Agreement with Third Countries General
1991 FCO 40/3402 Extradition agreement between Hong Kong and the USA
───────
前途研究計劃(前研)請大家喺medium follow 與 claps(可以每篇文拍 50 吓手),每下掌聲都會化作前研嘅收入來源,請畀多啲掌聲研究員 👏👏👏
◤唔駛等到 2049 系列 • 一◢
http://bit.ly/2VGFeuY
◤反送中系列◢
七)一句「相信」就可令大陸保障人權?
http://bit.ly/2XjNEp5
六)與世界脫軌
http://bit.ly/2VS716Q
五)No agreement is better than a bad agreement
http://bit.ly/2YhLmGS
四)沒有中港區隔下的美港關係
http://bit.ly/2LBdHGP
三)讓惡法多睡一會
http://bit.ly/2Jf8Lpc
二)《逃犯條例》修訂「殺到埋身」
http://bit.ly/2H9WYGi
一)立會反擊戰:林鄭的謊言
http://bit.ly/2Jb6sDq
───────
「香港前途研究計劃」由香港眾志 Demosistō、本土研究社 Liber Research Community及一眾年青學人發起。透過重點檔案的分析研究,重新認識香港史,以及為當下香港各種問題論述提供扎實的基礎。
───────
█ 解密過去🔓重掌未來 █
💰捐款支持:https://donorbox.org/dhkh
📖研究成果:https://medium.com/@decodinghkshistory
📱instagram:https://www.instagram.com/decodinghkshistory
📧聯絡 #香港前途研究計劃: m.me/decodinghkhistory
research council uk 在 Sarah Tang Youtube 的最佳貼文
快來訂閱Sarah吧►https://goo.gl/2wSaqs
追蹤我的生活►IG:https://goo.gl/2Tcnfz
今集會有更多S小姐買樓親身經驗, 真係唔講唔知原來買樓係會遇到這些問題!!!
學到好多野, 大家記住要抄筆記啊xd
[英國買樓] 英國Council都會破產?! 買樓講價減左一百萬?! 經驗人仕與你真誠分享! 如何不中伏? 如何資料搜集? - BNO
很多朋友都很心急馬上要在英國置業, 可惜疫情關係不能親身去英國睇樓.
只能靠聽agent講, 始終會唔放心。自己搵又覺得無從入手...
今天就請黎經驗人仕與你真誠分享佢海外買樓嘅心得,不單靠agent都能安心買英國樓的方法。
Chapters:
0:00-04:10 睇中心水樓盤後不會放心馬上就買,你會看更多什麼資料?
04:10-14:56 有什麼方法可以爭取最大折扣?
14:56-16:04 對將要買英國樓的香港買家
有什麼建議?
16:04-19:00 交樓過程是怎樣?要Check 的咩?
會請人驗樓嗎?
19:00-21:39 其他要注意的事項
♡If you like the video, please like and subscribe♡
More about me | 關於Sarah
我是在倫敦讀Fashion的女仔, 喜歡行街買衫扮靚: P
你也有與趣的話可以Subscribe 我和follow 我的IG?
Instagram: https://www.instagram.com/sarah_tang/
Email: Tangwaiwahhh@gmail.com
••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
Filming | 拍攝
Camera:Canon M6
Editing program:Premiere cc
#香港人 #bno平權 #倫敦 #香港 #英國工作假期 #英國留學 #英國旅行 #倫敦旅行 #倫敦自由行 #英國自由行 #工作假期 #英國移民政策 #英國移民 #倫敦生活 #倫敦vlog #bno #英國香港人#倫敦在住 #英國打工度假 #英國 #英國分享 #英國永久居留 #英國脫歐 #英國生活 #英國簽證 #房地產 #海外樓 #點樣可以安坐家中買英國樓#經驗人仕與你真誠分享
research council uk 在 Research Councils UK: USA Collaboration. #RCUK - YouTube 的推薦與評價
As two of the strongest research systems in the world, the UK and the US have long been partners in research. The US is the first choice ... ... <看更多>
research council uk 在 Economic and Social Research Council - Home | Facebook 的推薦與評價
The ESRC is the UK's largest organisation for funding research on economic and social issues. The ESRC supports independent, high quality research which has ... ... <看更多>