銜頭的問題在所有專業中都非常重要。
大律師、事務律師都是法律系出品,性質卻不同;即使同屬「治療師」,也是專職醫療人員,但物理治療(Physiotherapy)、職業治療(Occupational Therpy)、足部治療(Podiatry)都是不同的專業,隸屬不同的部門。
又例如一般人認為「家庭醫生」即是「我家庭見開的那個醫生」,而且「樓下的那位也是專科醫生」。事實上,所有醫生一定要有專科學院頒授的院士名銜(Fellowship)才可以自稱專科醫生。我這類未夠資格的,只可以叫「醫生」(Doctor)、「駐院醫生」(Resident)。家庭醫學(Family Medicine)也有自己的學院,也是自己的專科。在外國,家庭醫學是其中一個最常見、最受歡迎的專科,只不過來到香港發育不良才導致誤會不斷,原因另文再述。亦因如此,如果門診醫生的皮膚科、兒科、家庭科銜頭是由某大學頒發的文憑(Diploma),也並不能是專科醫生。
在中古時代的英國,要成為內科醫生 (Physician),要先經歷大學,拿取 Doctor 的資歷和銜頭;要成為外科醫生(Surgeon)卻並不需要進大學,只需要找一位大師當其學徒,再去考一紙文憑。為了劃分兩者,當時的外科醫生也並非 Doctor,而自稱 Mister / Miss。即使現今的醫生們都要經過醫學院的歷練,英國的外科醫生依然保存這個稱謂的傳統。
早幾天,有脊醫(Chiropractor)上了某電視節目去宣傳自己的專業,作出的陳述卻竟然驚動至骨科專科學院發出聲明澄清,所以我才想帶出這個銜頭的問題。
脊醫並非醫生,這是無可否定的。外國的脊醫會叫自己做 Doctor,因為他們獲頒脊醫博士學位,所以是博士 Doctor,並非醫生 Doctor。這個博士學位並不為人公認,頒授的學校也是脊醫自己的,於是有人就認為他們自己開學校頒學位給自己。當然,有陰謀論會說是西方醫學打擊會給自己搶飯碗的人,但脊醫的而且確未有大型研究去證明自己的效用。幾年前,英國的脊醫組織向某作者提出誹謗指控,但澄清聲明內引述的都不是可信度高的大型研究,反被嘲弄,更導致過百名英國脊醫被提控作出失實聲明。那麼,究竟脊醫有無效?
目前來說,某些研究指脊醫對背痛是有效的,僅此而已;部份脊醫說自己能醫百病,這就沒有根據。既然根本不是醫生,你再有效都不應在自稱脊背神經科醫生,要讀的課程有包括醫學知識又如何?小島學堂內,護理學系、藥劑學系、中醫學系、醫學系都有互通的課程,難道護士可以自稱醫生、藥劑師可以自稱華佗、我又可以叫自己藥王?豈有此理。
外國如何處理?世衛承認脊醫對痛症可能可以幫得上忙,卻指出全世界對脊醫的訓練良莠不齊,對其規格提出建議,但依然未獲廣泛接納。英國 NHS 的網頁將脊醫納入另類醫療,並不提供官方服務,有需要便向家庭醫生提詢。香港嘛,有脊醫條例、有註冊,對實際上的規矩卻又沒有好好執行。而且,在香港自稱醫生的,又何止脊醫?
要人尊重自己的專業,要先尊重自己,要有誠信。
吹捧得天花亂墜,只會令自己獲認可的機會更微。
#DrWhoHK
P.S. 圖為被英國脊醫組織告上衙門的 Simon Singh
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過129萬的網紅FifaTargrean,也在其Youtube影片中提到,อย่าลืมกดติดตาม!! https://www.youtube.com/channel/UCQjkS4N-dTsH5jUZM-YXoIQ เพจฟีฟ่าท้าเกรียน https://www.facebook.com/fifatargrean ร้านไอเดียดี http...
physician surgeon 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最佳解答
เส้นทางชีวิตหลังจบแพทย์แล้ว เป็นอย่างไร
วันนี้ขอมาเล่าเรื่องอะไรเล็กน้อย เกี่ยวกับชีวิตของแพทย์นะครับ คิดว่าน่าจะมีประโยชน์ให้กับผู้อ่านได้ในหลายๆส่วน โดยเฉพาะกับคำถามที่ว่า
“หลังจากจบแพทย์ 6 ปีแล้ว หมอแบบพวกเรา ไปอยู่ส่วนไหนของสังคมกันบ้าง”
อย่างที่ทุกๆคนทราบเหมือนกันว่าการเรียนแพทย์นั้นใช้เวลาเรียน 6 ปี หลังจากจบชั้น ม.6 ในระบบภาคการศึกษาปกติของประเทศไทย เข้ามหาวิทยาลัยตอนอายุ 17-18 ปี ตอนจบอายุจะประมาณ 23-24 ปี แตกต่างกันไปในแต่ละคน
พอมาถึงจุดนี้บางส่วนก็จะเลือกที่จะอยู่ในโรงเรียนแพทย์ต่อและเรียนต่อเฉพาะทางในทันที ก็จะจบออกมาเป็นแพทย์เฉพาะทางตั้งแต่อายุยี่สิบปลายๆ ส่วนอีกทางก็อาจจะเลือกออกไปทำงานชดใช้ทุนตามสัญญาที่มีกับภาครัฐ สั้นบ้าง ยาวบ้าง แล้วแต่สัญญา อยู่ในระหว่าง 1-5 ปี
หลังจากนั้นก็จะกลับมาเรียนต่อเฉพาะทาง
พอถึงจังหวะเรียนต่อเฉพาะทาง ก็จะกลับมาเรียน หมออายุรกรรม หมอผ่าตัด หมอตา หมอหู หมอสูติ หมอเด็ก หมอห้องฉุกเฉิน ฯลฯ จะใช้เวลาราวๆ 3-5 ปีแล้วแต่สาขา
หลังจากนั้นพอจบเฉพาะทางเสร็จแล้ว ก็จะมาต่อเฉพาะทางต่อยอด เป็น หมอหัวใจ หมอไต หมอตับ ฯลฯ ว่ากันไปอีก 1-2 ปี แบบนี้
อันนี้คือภาพการเดินทางของหมอในเส้นทางที่เราจะรู้จักและเข้าใจกันดี ให้ผมอธิบายต่อในอีกหนึ่งมุมมองของหมอที่ไม่ได้ทำงานในโรงพยาบาลครับ ซึ่งเทียบสัดส่วนแล้วอาจจะไม่ได้มาก แต่อาจจะเป็นทางเลือกสำหรับใครหลายๆคน
ก่อนอื่นเนื่องจากการที่ตัวเนื้องานไม่ได้อิงกับโรงพยาบาล นั่นแปลว่า ภาระงานส่วนใหญ่ก็อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการดูแลหรือรักษาคนที่ป่วยโดยตรง แต่จะออกไปในรูปแบบต่างๆ หรือออกไปในแนวทางของการทำวิจัย (research) หรือ ป้องกันโรคมากยิ่งขึ้น (preventive)
ถ้าเราได้ลองมองสาขาวิชาเฉพาะของเวชศาสตร์ป้องกัน (preventive medicine) ที่มีในเมืองไทยตอนนี้ จะมีอยู่ดังนี้ครับ
• ระบาดวิทยา (Epidemiology) เป็นนักระบาดวิทยา ถ้าในยุคโควิดก็จะเห็นภาพชัดเจนที่สุด คือแพทย์ส่วนใหญ่ที่ทำงานในกรมควบคุมโรค มีหน้าที่สอบสวนโรค ส่วนใหญ่แล้วจะทำงานกับภาครัฐเพราะถือเป็น policy maker สามารถขึ้นไปทำงานในองค์กรระหว่างประเทศอย่าง องค์กรอนามัยโลกหรือสำนักงานขององค์กรอนามัยโลกภาคพื้นเอเชีย (SEARO) แบบนี้ ประเทศไทยจะมีหลักสูตรการสอนที่ชื่อว่า FETP ที่มีหมอจากต่างชาติมาเรียนด้วยครับ
• เวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว (Travel Medicine) ดูแลนักเดินทาง (ที่ไม่ใช่แค่นักท่องเที่ยว) ก่อนเดินทางก็ดูแลและหาวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรค ณ สถานที่ปลายทางที่เดินทางไป เช่น จะไปแทนซาเนีย 1 เดือน ควรต้องเตรียมตัวอย่างไร หรือ ถ้ากลับมาจากการเดินทางแล้วป่วย จะสงสัยโรคอะไร เพราะแต่ละประเทศจะมีสาเหตุของการเกิดโรคที่อาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนกันได้ แม้จะมาด้วยอาการที่ใกล้เคียงกัน
• เวชศาสตร์การบิน (Aviation Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับการแพทย์ที่อยู่เหนือพื้นดินครับ ยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพจะมีแพทย์ที่เรียกว่า Flight surgeon ที่ไม่ใช่ศัลยแพทย์นะครับ แต่เป็นแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยระหว่างที่มีการเคลื่อนย้ายทางอากาศ เช่น จำเป็นต้องมีการย้ายผู้ป่วยข้ามประเทศทางเครื่องบินพยาบาล (air ambulance) หรือในเครื่องบินพาณิชย์
• เวชศาสตร์ทางทะเล (Maritime Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับทางทะเล ตั้งแต่เวชศาสตร์ใต้น้ำ (underwater) ดูแลเครื่องความดันบรรยากาศสูง (hyperbaric chamber) ซึ่งเรามักจะเข้าใจว่าเอาไว้ภาวะน้ำหนีบในนักดำน้ำ แต่จริงๆเอาไว้ใช้รักษาโรคอื่นได้อีกมากมาย ดูแลคนที่ทำงานในทะเล เพราะในทะเลจะมีระบบกฎหมายการทำงานทางสุขภาพที่แตกต่างของผู้ที่ทำงานบนฝั่งแบบนี้ครับ
• เวชศาสตร์ป้องกันคลินิก (Clinical Preventive Medicine) เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญด้านการป้องกันโรคจะพบได้ในคณะแพทยศาสตร์ เนื่องจากเป็นอาจารย์แพทย์ที่จะทำการสอนด้านเวชศาสตร์ป้องกันให้กับนักศึกษาแพทย์หรือแพทย์ประจำบ้านอีกครั้ง
• สาธารณสุขศาสตร์ (Public health)
• สุขภาพจิตชุมชน (Community Mental Health) แพทย์ที่ดูแลด้านสุขภาพจิตในเชิงของการป้องกัน (จิตแพทย์จะลงลึกไปในเรื่องของการรักษาซึ่งเน้นกันคนละจุดครับ)
• อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) เป็นแพทย์ที่ดูแลและป้องกันโรคภัยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ มองให้เห็นภาพคือ การจะมีโรงงานอุตสาหกรรมที่คนทำงาน ทำแล้วไม่เกิดปัญหาทางกาย หมอคนนี้คือคนที่ดูแลและป้องกันครับ เช่น โรงงานทำแร่ใยหิน ก็จะจัดการเรื่องแร่ใยหินให้ถูกต้อง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคจากแร่ใยหินแบบนี้
• เวชศาสตร์การจราจร (Traffic Medicine) สาขานี้พึ่งจะเริ่มต้นมีประเทศไทยครับ
นอกจากนี้แล้ว จริงๆแล้ว ยังมีสาขาอื่นๆอีก ที่น่าสนใจแต่ยังไม่ได้มีรายละเอียดในบ้านเรามากนักครับ แพทย์ที่ทำงานในด้าน IT โดยเฉพาะ ที่เรียกว่า Medical Informatician ครับ ซึ่งการเรียนการสอนในสาขานี้ เท่าที่ทราบคือยังไม่มีในเมืองไทย ต้องไปเรียนที่ต่างประเทศ
หรือแพทย์ที่ทำงานอยู่ในสายของนักวิจัย เพราะจบทางด้านวิทยาศาสตร์มาพร้อมๆกัน เช่น ด้านเภสัชวิทยา สรีรวิทยา ภายวิภาคศาสตร์ ฯลฯ ส่วนใหญ่ผู้เชี่ยวขาญสาขานี้จะอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่มีคณะแพทย์อยู่ และเป็นผู้ที่ทำการสอนนักศึกษาแพทย์ในช่วงขั้น ปีที่ 2-3 หรือถ้าออกไปทำงานในบริษัทยาก็อาจจะเป็นนักวิจัยยา (Pharmaceutical Researcher)
หรืออาจะเป็นแพทย์ที่ไปทำงานในหน่วยงานของเอกชนที่มีหน่วยงานของแพทย์อยู่ ทำงานเป็นแพทย์ที่เป็นผู้ประสานงานทางการแพทย์ (Medical Coordinator)
ทำงานในบริษัทเอกชนในตำแหน่ง Corporate physician หรือในบริษัทประกัน (Insurance) หรืออาจจะเป็นผู้แทนของบริษัทยา Medical Sales Representative
หรือบางคนอาจจะออกไปโลดแล่นกับหน่วยงานระหว่างประเทศเลย เช่น องค์กรแพทย์ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières)
หรืออาจจะมาในอาชีพที่คนทั่วไปก็เข้าถึงได้เช่น นักเขียน นักเล่าเรื่อง (medical writer) หรือจะออกมาเริ่มต้นทำธุรกิจในสายงานสุขภาพ (Medical startup entrepreneur) ซึ่งทั้ง 2 อย่างหลังนี้ มีตัวอย่างของผู้ทบุกเบิกไว้ให้เห็นภาพพอสมควรแล้ว
สุดท้ายนี้ ก็ที่เขียนบทความนี้ขึ้นมา ก็อยากให้ทุกคนได้เห็นภาพในอีกด้านหนึ่งของอาชีพที่อาจจะช่วยเป็นแนวทางให้คนหลายๆคน (รุ่นน้องนักศึกษาแพทย์ หรือเพื่อนร่วมวิชาชีพ) หรือผู้ที่สนใจได้ครับ ว่าสามารถมีทางเลือกอะไรที่มีความเป็นไปได้บ้างในตอนนี้
physician surgeon 在 Professional make-up artist (JENNY TZIONG) Facebook 的最佳貼文
Posted @withregram • @lalamallsg
“You can’t help getting wrinkles, fine lines, laugh lines but you don’t have to get much of it by preventing it.”
@rosannewong
Medical Skincare:
@estheraction_kr on @rosannewong is exclusive
@lalamallsg ✨
Creative & Styling Director: @adeleleung
Assistant @tife_tinker
Photograher: @hungmc
Studio: @speedycat_photostudio
Makeup: @jenny.tziong
Hair: @hairbyjohnhui_
Nails: 21march_nailslashes
🖤
EstherAction
Fineline Treatment Cream is an ultimate medical skincare anti-ageing cream developed and tested in the Medical GMP certified laboratories for potent age-defying and illumination properties to enhance ones skin barrier.
“EstherAction Medical Skincare are made to be a lot more potent. Before they can only be purchased by a physician.” remarked by a world-renowned plastic surgeon, anti-aging specialist and EstherAction formulator Dr. James Kim.
Benefits
🖤Anti-ageing
✔️7 different peptides
🖤Wrinkle Reduction
✔️Enhance skin’s barrier
🖤Brightening
✔️Anti-Oxidant
🖤Growth factors to deliver efficient anti-oxidant
✔️Tissue Regeneration
🤍Set of 2 Treatment Creams:
0.68 fl oz/20ml each
🤍Skin types
All skin types
#estheraction #medicalskincare #medicalluxuryskincare #PDRNampoule #finelinecream #anticellulitecollagencream #vmask #skincare #koreanskincare #antiaging #wrinklerestoration #elasticityrestoration #antiyellowing #skinbrightening #peptides #antioxidant #ageless #timeless #tissueregeneration #collagen #niaciamide #cosmetics #soledistributor #singapore #malaysia #hongkong #india #estheractionsingapore #estheractionrosannewong @estheraction_kr @lalamallsg @lalamallkr
#jennytziong
physician surgeon 在 FifaTargrean Youtube 的最佳貼文
อย่าลืมกดติดตาม!!
https://www.youtube.com/channel/UCQjkS4N-dTsH5jUZM-YXoIQ
เพจฟีฟ่าท้าเกรียน
https://www.facebook.com/fifatargrean
ร้านไอเดียดี
http://www.ideadshop.com
House of Game จำหน่ายเกมบนมือถือ PS XBOX
https://www.facebook.com/pages/House-of-Game/1017122951632453
The Flash Digital Key Store จำหน่าย CODE GAME ราคาถูก
https://www.facebook.com/TheFlashKey?fref=ts
FiFa15 Thailand coins
https://www.facebook.com/pages/FiFa15-Thailand-coins/362056937303181?fref=ts
