มี IFRS17 แล้วต้องมี RBC อีกหรือไม่?
เราอย่าเพิ่งสับสนระหว่าง IFRS17 (International Financial Reporting Standard 17) กับ RBC (Risk Based Capital) เพราะวัตถุประสงค์ของแต่ละตัวนั้นแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดย IFRS17 นั้นเป็นมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เอาไว้ใช้กับงบการเงิน ซึ่งจะกระทบกับงบกำไรขาดทุนและงบดุล รวมถึงหมายเหตุประกอบงบด้วย แต่สำหรับ RBC แล้วเป็นการคำนวณความสามารถในการชำระหนี้ได้ในอนาคต ซึ่งภาษาทั่วไปเรียกกันว่า Solvency Ratio และถ้าให้เจาะจงสำหรับ RBC แล้วจะถูกเรียกว่า Capital Adequacy Ratio (CAR) นั่นเอง ซึ่งการคำนวณ RBC นั้นจะมุ่งเน้นไปที่งบดุลเป็นหลัก
IFRS17 ต้องการที่จะสะท้อนผลประกอบการบริษัทลงในงบการเงิน ส่วน RBC ต้องการสะท้อนความสามารถในการชำระหนี้ของบริษัท (มีเงินจ่ายผลประโยชน์คืนให้กับผู้ถือกรมธรรม์)
ผลลัพธ์ที่ได้ของ IFRS 17 คือ งบการเงินตามมาตรฐานบัญชีสากล ส่วนผลลัพธ์ของ RBC คือ Capital Adequacy Ratio (CAR) ตามพรบ.ประกันชีวิตและพรบ.ประกันวินาศภัย
ผู้ที่อยู่ในคณะทำงานหลักของ IFRS17 จะมาจาก สภาวิชาชีพบัญชี ส่วนผู้ที่อยู่ในคณะทำงานหลักของ RBC คือ คปภ. อย่างไรก็ตาม ทางคปภ. ก็ไม่ได้นิ่งนอนใจ และก็กำลังจะตั้งคณะทำงานขึ้นมาศึกษาผลกระทบของ IFRS17 เช่นกัน
อ่านต่อได้ที่ https://siamrath.co.th/n/48657
--------------------------------------------------------------------
🆔 LINE : www.line.me/R/ti/p/%40abstas19
⏯ YouTube : www.youtube.com/channel/UCAsSvU1-CvAwCqRSd24sKtw
🔅 Twitter : www.twitter.com/ActuaryTommy
🚩 Facebook : นักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ทอมมี่ แอคชัวรี Actuary
🌐 Website : www.actuarialbiz.com
#นักคณิตศาสตร์ประกันภัย #คณิตศาสตร์ประกันภัย #อาจารย์ทอมมี่ #ทอมมี่แอคชัวรี #Actuary #Fellow #เฟลโล่
「ifrs คือ」的推薦目錄:
- 關於ifrs คือ 在 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ทอมมี่ แอคชัวรี Actuary Facebook 的最佳解答
- 關於ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的最佳貼文
- 關於ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的最佳解答
- 關於ifrs คือ 在 TFRS คืออะไร IFRS คืออะไร? | บัญชีมีGIVE - YouTube 的評價
- 關於ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ... 的評價
ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的最佳貼文
จากที่อ่านและทำความเข้าใจใน paper นี้ ที่เกี่ยวกับ TFRS9 กับ COVID 19 ขอสรุปประเด็นคร่าวๆ ดังนี้
.
.
1. การพิจารณา ECL ควรคำนึงถึง effect จาก COVID 19 และ มาตรการช่วยเหลือจากรัฐ ด้วย (Significant government support)
.
.
2. Effect จาก COVID 19 และ Government support อาจสังเกตและระบุออกมาให้ชัดเจนได้ยาก แต่มันจะสะท้อนออกมาใน Macroeconomic scenarios (เดาว่าน่าจะพวก GDP CPI) ซึ่งหากใน Model การคำนวณ ECL ยังไม่สามารถสะท้อน Effect จาก COVID 19 ได้ ให้พิจารณาปรับปรุง Model เมื่อมีข้อมูลเพียงพอ (Post-model overlays and adjustment)
.
.
3. Government support ที่ควรนำมาพิจารณาด้วย เช่น การเพิ่มสภาพคล่อง (Increasing liquidity), การประกาศพักชำระหนี้ (Moratoriums on debt repayments)
.
.
4.ให้กิจการพิจารณาว่า Effect จาก COVID 19 และ government support จะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้แค่ ชั่วคราว (Temporary) หรือ ระยะยาว (Life time) (คือ ดูว่ามา SICR เกิดขึ้นหรือไม่)
.
.
5. ต้องนำ ECL มาพิจารณาใหม่ (Reconsider) ว่ามันยังสะท้อนสถานการณ์ปัจจุบันได้อยู่หรือไม่
.
.
6. อาจต้องดู ความสามารถในการชำระเงินของลูกหนี้ (Financial viability of debtors) แล้วทำเป็น Sub-portfolios ของลูกหนี้แบบรายคน (ใน overall portfolio ไม่สามารถแสดงคุณลักษณะของ Credit risk ไปในทิศทางเดียวกัน) จึงต้องมีการทำ provision matrix ใน level ที่ละเอียดกว่าเดิม
.
.
ทั้งนี้ ข้อมูลข้างต้นเป็นประกาศทั่วไปในระดับ International เพียงเท่านั้น ซึ่งในส่วนของประเทศไทยเองคงต้องรอร่างแนวปฏิบัติมาตรการ COVID-19 Local Option อีกครั้ง ซึ่งอาจมีมาตรการผ่อนปรนของสภา ที่แตกต่างจากบทความนี้ได้
.
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.iasplus.com/en-ca/publications/publications/2020/clearly-ifrs-accounting-considerations-related-to-coronavirus-disease-2019
.
#TAS19 #รับคำนวณผลประโยชน์พนักงาน #คำนวณผลประโยชน์พนักงาน #อาจารย์ทอมมี่ #นักคณิตศาสตร์ประกันภัย #เกษียณ #เลิกจ้าง #เงินชดเชยสำรอง #IFRS9 #TFRS9 #เครื่องมือทางการเงิน
.
⭐ ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ⭐
▶️ TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS
🏅พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน - ทอมมี่ แอคชัวรี - นักคณิตศาสตร์ประกันภัย
💬 Inbox : http://m.me/TAS19TommyActuary
🖥 Website : www.actuarialbiz.com
🆔 LINE@ : @abstas19
♾ Link LINE@ : https://line.me/R/ti/p/%40abstas19
📲 Tel. : 082-899-7979 | 087-100-7199
🔔 จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากเรา 🔔
ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的最佳解答
• ผลประโยชน์พนักงาน 300 - 400 วัน บันทึกปี 2561 ? •
Cr. Accounting Analysis
.
.
#TAS19 #รับคำนวณผลประโยชน์พนักงาน #กฎหมายแรงงาน
.
.
🙏กด LIKE กด Share เป็นกำลังใจให้ทีมงาน🙏
และอย่าลืม !! กดติดดาว ⭐ #See_First ⭐
▶️ เพจ TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS
👨💼 พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน - ทอมมี่ แอคชัวรี - นักคณิตศาสตร์ประกันภัย
🖥 www.actuarialbiz.com
🆔 LINE@ : @abstas19
♾ https://line.me/R/ti/p/%40abstas19
⭐ จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากเรา ⭐
[ผลประโยชน์พนักงาน 300 400 วัน ... บันทึกปี 2561 ?]
สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้มีมติผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 ที่ผ่านมา สาระสำคัญคือการเพิ่มค่าชดเชยของลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีให้มีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วันสุดท้าย (จากกฎหมายฉบับเดิมที่ 300 วัน)
เหตุการณ์ดังกล่าวถือเป็นการแก้ไขโครงการผลประโยชน์ (จ่ายพนักงานมากขึ้น) ซึ่งกระทบต่อต้นทุนบริการในอดีต (Past Service Cost) ณ วันที่ “แก้ไขโครงการ” ซึ่งการรับรู้ Past Service Cost นี้จะต้องรับรู้เข้างบ “กำไรขาดทุน” ทันที (ไม่ใช่เข้ากำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือ OCI เหมือนกับ Actuarial Gain/Loss ตอนให้ Actuary มาประเมินหนี้สินผลประโยชน์หลังออกจากงาน ที่เราคุ้นๆกัน)
ประเด็นสำคัญที่แอดคิดว่าเป็นปัญหาการตีความในทางปฏิบัติ คือ ณ 31 ธ.ค. 2561 ร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่ในสถานะที่ สนช.มีมติผ่านร่าง แต่รอลงราชกิจจาฯ (ที่คาดว่าจะลงในปี 2562 นี้) ...สถานะแบบนี้เรียกว่ามีผลทางกฎหมายแล้วหรือไม่ ซึ่งจะต้องใช้ในการตีความต่อไปว่าเกิดการ “แก้ไขโครงการฯ” ณ 31 ธ.ค. 2561 แล้วหรือไม่
จนแล้วจนรอด ก้าวเข้าสู่ปี 2562 หลังจากที่ สนช.มีมติผ่านร่างฯมาเดือนกว่าๆ ก็ยังไม่มีใครออกมาตีความว่าสรุปแล้ว Status กฎหมายดังกล่าว ณ 31 ธ.ค. 2561 จะถือว่าเป็นการ "แก้ไขโครงการ" ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ได้แล้วหรือไม่
แน่นอนว่าความหลากหลายในทางปฏิบัติย่อมบังเกิดขึ้น เมื่อบริษัทต่างๆทยอยประกาศงบการเงินตั้งแต่กลางเดือน ม.ค. 2562 ที่ผ่านมา
แอดเลยลอง Survey บริษัทที่เริ่มประกาศงบปี 2561 แล้ว (อ่านได้ตามรูปเลยครับ)
สิ่งที่น่าตกใจเล็กๆ คือ บริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันก็ยังมีการตีความที่ต่างกัน และแอดคิดเอาเองว่าหากงบทั้งตลาดออกมาอีกหลายร้อยงบในเดือน ก.พ. นี้คงจะได้เห็นความหลากหลายในทางปฏิบัติเป็นแน่แท้
ดังนั้นหากจะใช้งบปี 2561 / 2562 จึงเป็นอีกจุดนึงที่ต้องสังเกตดีๆ ก่อนนำผลประกอบการ อย่างตัวเลขกำไรขาดทุน มาเปรียบเทียบนะครับ (เห็นไหมครับบริษัทใหญ่ๆ กระทบกันทีเป็นหลักพันล้านบาทนะครับ)
หากถามว่าใครผิดใครถูก ณ เวลานี้ แอดคิดว่าคงไม่มีใครกล้าจะตอบฟันธง คงจะได้แต่คำตอบว่าถูกทั้งคู่ ขึ้นอยู่กับว่าบริษัทจะตีความว่าจะ Commit กับร่างกฎหมาย ณ 31 ธ.ค. 2561 ขนาดไหน
และแอดเชื่อเหลือเกินว่าเหตุการณ์นี้จะเป็นตัวที่ย้ำว่า มาตรฐานการรายงานทางการเงินสมัยใหม่ที่เป็น Principle-based บางทีก็อาจก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ ในประเด็นการตีความ (ไม่ว่าจะมาจากตัวมาตรฐานฯเอง ผู้ใช้มาตรฐานฯ รวมไปถึง Regulators ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง) จนทำให้งบการเงินไม่สามารถเปรียบเทียบได้ทันที ทั้งๆที่ Transaction ที่เกิดขึ้นกับแต่ละบริษัทเป็น Transaction ที่เหมือนกันก็ตาม ... ซึ่งในกรณีนี้ก็คือร่างกฎหมายฉบับเดียวกันแท้ๆ...
หรือบางทีอาจต้องบอกว่า นี่แหละคือ “เสน่ห์ของ IFRS” (ฮา)
...................
ติดตามเรื่องราวและมุมมองเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางบัญชี และข้อมูลที่น่าสนใจอื่นๆ โดย Like Page "Accounting Analysis" แห่งนี้ได้เลยครับ
ifrs คือ 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ... 的推薦與評價
IFRS คือ อะไร ใครสงสัย ยกมือขึ้น... ...ถ้าหลายๆ คนเคยได้ยิน คำว่า "IFRS" เคยสงสัยไหม ? วันนี้แอดนำความรู้เกี่ยวกับ IFRS หรือที่เรียกกันว่า... ... <看更多>
ifrs คือ 在 TFRS คืออะไร IFRS คืออะไร? | บัญชีมีGIVE - YouTube 的推薦與評價
TFRS คืออะไร IFRS คือ อะไร? | บัญชีมีGIVE. 116 views 4 months ago. บัญชีมีGIVE. บัญชีมีGIVE. 714 subscribers. Subscribe. ... <看更多>