I had a great time speaking at New York Times' Chinese magazine launch in Hong Kong last week! Part of the event included a keynote talk and panel discussion, and one of the topics we discussed was about the role of the Chinese consumer and about social media and art. Instagram especially has provided an entire new way for the world to access art. In the past, artists had to go through big players in the art world (galleries, dealers, collectors, critics) to get exposure for their work, but now we're increasingly seeing artists - with audiences likely wider than gallery openings - selling works theirselves directly to clients/collectors. If Van Gogh were alive today and Instagram-savvy, he would definitely have sold more than one painting in his lifetime!
This is totally unrelated to our panel discussion but is something that's been on my mind a lot lately: while social media has brought lots of opportunities, I can definitely see the danger with how our online worlds can be so carefully curated and how it does not paint a picture of real-life...everyone seems to have it together while in reality, we all go through 'stuff'. It's made me wonder about how we - especially kids - cope with comparison games these days, and has made me think a lot about what we can do to change this and present ourselves in more real and authentic ways. :)
And yes, I definitely go through my share of 'stuff'!
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「art collectors magazine」的推薦目錄:
- 關於art collectors magazine 在 Red Hong Yi Facebook 的最佳解答
- 關於art collectors magazine 在 DJ Suharit Siamwalla Facebook 的最佳解答
- 關於art collectors magazine 在 VOP Facebook 的最讚貼文
- 關於art collectors magazine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於art collectors magazine 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於art collectors magazine 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於art collectors magazine 在 American Art Collector Magazine - Facebook 的評價
- 關於art collectors magazine 在 Art Collector Magazine - YouTube 的評價
art collectors magazine 在 DJ Suharit Siamwalla Facebook 的最佳解答
โลกนี้มีคนบ้าหลายประเภท ประเภทขวางโลก ประเภทอยากทดลอง ประเภทคิดมาแล้วอยากทำ ประเภทกูก็ไม่รู้ผลลัพธ์แต่กูอยากทำ
โลกนี้ก็มีคนที่คอยดับฝันคนอื่นหลายประเภทด้วยกัน ประเภทไอ้ห่าไม่มีทางสำเร็จหรอก เข้าใจเทคโนโลยีหรือเปล่าว่ะใครมันจะยังอ่านนิตยสาร
แต่โลกมันก็สร้างระบบให้คนทดสอบความบ้าตัวเองผ่านกระแสที่ต่อต้านได้เสมอ
ใครอยากเห็นอยากอ่าน magazine ต่อไปก็เชิญร่วมโครงการนี้ได้ครับ หนุ่มกับนิ้วกลมเขาเชิญมา ผมว่ามันบ้าท้าทายยุคที่มีแต่คนบอกว่า "นิตยสารแม่งกำลังตายและต้องตาย" แต่สองคนนี้กำลังบอกว่าไม่ตายหรอก ถ้าจะไม่ให้มันตายเราก็เสพมัน
สุหฤท สยามกลมที่ท้องนิ้วมันตรง
MAD ABOUT
คือ ‘ความบ้า’ ที่เกิดจากบทสนทนาขณะรถติดของ นิ้วกลม-สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ กับ โตมร ศุขปรีชา ถึงช่วงเวลาที่ใครๆก็บอกว่า-แมกกาซีนกำลังจะตาย
ทั้งคู่เกิดและเติบโตมากับนิตยสาร ลึกๆแล้วจึงยังคิดถึงและเชื่อมั่นในพลังของนิตยสารว่าสามารถสรรค์สร้างและขัดเกลาความคิดและตัวตนของผู้คนให้เป็นไปในทางที่สวยงาม ละเอียดอ่อน และเข้มข้นได้ นอกจากนั้นเรายังเชื่อว่าบรรยากาศ ความรื่นรมย์ การใช้เวลา และความเนิบช้าบางอย่างที่ได้จากการอ่านนิตยสาร รวมถึงศิลปะการร้อยเรียงเนื้อหาอันหลากหลายเข้าด้วยกันผ่านหน้ากระดาษนั้นยังคงมีเสน่ห์ในแบบที่สื่ออื่นทดแทนไม่ได้
นั่นทำให้บทสนทนาบ้าๆในรถนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า-ทั้งคู่จะทำนิตยสารด้วยกัน!
เป็นการทำนิตยสารเพื่อพิสูจน์ความเชื่อที่ว่า นิตยสารยังไม่ตาย นิตยสารยังมีผู้อ่าน เป็นการจุดประกายความฝันของการอ่านสื่อกระดาษขึ้นมาอีกครั้ง
...
MAD ABOUT จะเป็นนิตยสารที่เชื้อเชิญผู้คนที่เชื่อมั่นในกระดาษมาร่วมสนุกกัน ทั้งเพื่อนพี่น้องในแวดวงนักเขียน นักวาด ช่างภาพ และนักออกแบบ
MAD ABOUT จะเป็นนิตยสารที่ไม่ขมเกินไป ไม่หวานเกินไป ได้รับการปรุงรสให้พอเหมาะและอร่อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
MAD ABOUT จะเป็นนิตยสารที่เป็นเหมือนแกลเลอรี่โล่งๆให้นักเขียน กวี นักวาด นักออกแบบ ศิลปิน และยอดฝีมือทั้งหลายมาวาดลวดลายกันได้เต็มที่ โดยมีบรรณาธิการเป็นภัณฑารักษ์ผู้เรียงร้อยอารมณ์ทั้งหลายเข้าด้วยกัน
MAD ABOUT จะเป็นนิตยสารที่ได้รับการออกแบบอย่างประณีตพิถีพิถัน ด้วยดีไซน์เนอร์ยอดฝีมือที่เชื้อเชิญมาปรุง MAD ABOUT ให้กลมกล่อมโดยเฉพาะ
MAD ABOUT ในแต่ละเล่มจะมีรสชาติที่ไม่เหมือนกันเลยแม้แต่เล่มเดียว ทั้งเนื้อหาและวิธีการออกแบบจะแตกต่างกันออกไปอย่างสิ้นเชิง ความตื่นเต้นอยู่ตรงที่คุณจะคาดเดาไม่ได้เลยว่าเล่มต่อไปจะเป็นอย่างไร
MAD ABOUT จะเป็นนิตยสารในฝันที่เราอยากเห็น และเป็นนิตยสารที่ข้ามพ้นข้อจำกัดเดิมๆ ทางธุรกิจทำให้เราสามารถจินตนาการและสร้างสรรค์ได้เต็มที่
...
ความเข้มข้นของ MAD ABOUT ทำให้ MAD ABOUT ไม่อาจเป็นนิตยสารที่มีเป้าหมายในทางธุรกิจที่จะยืนยงคงอยู่ต่อไป ‘เป็นนิตย์’ เหมือนคำว่า ‘นิตยสาร’ ได้ MAD ABOUT ที่กำลังจะถือกำเนิดขึ้น จึงเป็นเสมือน Art Project ที่จะ ‘เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป’ เพียง 3 เล่ม เท่านั้น โดยทั้ง 3 เล่มจะมีธีมเล่มเฉพาะ ที่เมื่อนำมาร้อยเรียงกันแล้ว จะกลายเป็นธีมใหญ่ที่สะท้อนถึงวิธีคิดของผู้จัดทำที่มีต่อการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่ และดับไป, ของสื่อกระดาษ โดยเฉพาะนิตยสาร และทั้งหมดนี้ จะถูกรวบรวมกลายร่างมาเป็น Exhibition ใหญ่ในตอนท้ายอีกทีหนึ่ง
ความเป็นไปได้ของนิตยสารเล่มนี้ นอกจากขึ้นอยู่กับความมุ่งมั่นตั้งใจของคนทำทั้งคู่และทีมงานทั้งหมด นอกจากความกรุณาในรูปแบบต้นฉบับของพี่เพื่อนนักเขียน นักวาด ช่างภาพ นักออกแบบทั้งหลายแล้ว นิตยสารเล่มนี้จะเกิดขึ้นได้คงต้องอาศัยแรงสนับสนุนจากผู้อ่านอย่างเต็มที่เช่นกัน
ถ้าคุณเชื่อในนิตยสารเหมือนเรา ถ้าคุณเชื่อว่านิตยสารเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยก่อร่างสร้างความคิดและตัวตน ถ้าคุณอยากเห็นนิตยสารที่เป็นแหล่งรวมความคิดสร้างสรรค์และความคิดที่น่าสนใจ คุณสามารถร่วมสนับสนุน MAD ABOUT ได้ ผ่านโครงการระดมทุนเพื่อทำให้ MAD ABOUT เป็นจริง ด้วยการโอนเงินผ่านบัญชี (ดูรายละอียดในลิงค์ด้านล่าง) ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 10 ตุลาคม 2559 เท่านั้น
...
โดยมีรายละเอียดการสนับสนุนต่อไปนี้
1. HELPING HAND :
ช่วยให้ MAD ABOUT ได้เกิด โดยสนับสนุนเงินเท่าไหร่ก็ได้ ตั้งแต่ 1 บาท ขึ้นไป เราขอน้อมรับด้วยความขอบคุณครับ
2. THE COLLECTOR’S EDITION :
คุณจะได้รับ MAD ABOUT จัดส่งถึงบ้านครบทั้งสามเล่ม จึงไม่พลาด MAD ABOUT แม้แต่เล่มเดียว : สนับสนุนเป็นเงินจำนวน 1,200 บาท
3. THE SUPER COLLECTORS :
คุณจะได้รับ MAD ABOUT จัดส่งถึงบ้านครบทั้งสามเล่มพร้อมลายเซ็นของบรรณาธิการทั้งสอง : สนับสนุนเป็นเงินจำนวน 5,000 บาท
4. THE FULL COLLECTION :
คุณจะได้รับ MAD ABOUT ฉบับพิมพ์ปกแข็งเพื่อการสะสมโดยเฉพาะ พร้อมลายเซ็นของบรรณาธิการทั้งสอง และตีพิมพ์รายชื่อของคุณลงใน MAD ABOUT เล่มที่ 3 เพื่อเป็นหลักฐานว่าคุณได้มาร่วม ‘บ้า’ ไปกับเราด้วย : สนับสนุนเป็นเงินจำนวน 10,000 บาท
คุณสามารถดูขั้นตอนการสนับสนุนได้ที่ https://www.facebook.com/notes/mad-about/lets-get-mad/1188281221233345
...
เราตั้งใจทำนิตยสารเล่มนี้อย่างสุดฝีมือ แต่ด้วยข้อจำกัดทางธุรกิจและต้นทุน ทำให้เราจำเป็นต้องแจ้งเพิ่มเติมว่า MAD ABOUT จะสามารถปรากฏเป็นเล่มจริงได้ เมื่อมีผู้สนับสนุนถึง 2,000 เล่มขึ้นไปเท่านั้น
เราเติบโตมากับนิตยสาร และอยากเห็นคลื่นกระเพื่อมไปในแวดวงนิตยสารอีกครั้ง แม้จะเป็นคลื่ีนลูกเล็กๆลูกหนึ่งก็ตามที เราอยากให้คุณสนับสนุน MAD ABOUT เพราะเราอยากทำ และเราอยากให้คุณได้อ่านนิตยสารเล่มนี้!
จริงอยู่, ทุกสิ่งเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปด้วยกันทั้งนั้น สิ่งสำคัญคือมันเคยเกิดขึ้นและเรามีความทรงจำร่วมกัน
หวังว่า MAD ABOUT จะได้เป็นหนึ่งในความทรงจำดีๆร่วมกันนะครับ
art collectors magazine 在 VOP Facebook 的最讚貼文
【新刊發行 NEW RELEASE】
▒ Voices of Photography 攝影之聲 ▒
Issue 14 : 謎途 Journey Into Mystery
在這期開始之前,我們追思藝術家陳順築。
生於1963年的陳順築,其濃烈的家族記憶與原鄉羈愁所轉印建構的複合影像及攝影裝置作品,是當代台灣藝壇重要的標誌與代表。在台北市立美術館正為陳順築舉辦首次個人大型回顧展之際,他卻於2014年10月和我們告別遠行……。為了紀念他,我們重新刊載三年前在《攝影之聲》和陳順築的對話,並再收錄藝術家陳界仁與姚瑞中寫給順築的信,以及我們從他1989年至近期的個人札記中,節錄出的隨筆、塗鴉與奇想。他說,藝術就是心裡的事,而我們試著跟隨他的喃喃私語,想像他這一生創作總念念不忘的家。
本期我們特別介紹藝術家赤鹿麻耶、宇田川直寬和付羽,他們的作品令人陷入當代攝影看不清的謎霧中——赤鹿奇異佈局的詭祕時刻、宇田川在家庭照片上綿密塗畫的燥灼抒發,以及付羽冷峻枯寂的形骸景象,我們嘗試前往他們自身也難以剖解的影像謎團中尋路。專欄中,張世倫則以攝影家張乾琦的錄像新作《Side Chain》切入析論攝影的毀壞與創生 ; 顧錚書寫捷克攝影家斯沃博達的攝影生涯,追尋他的自傳性內心影像 ; 黃翰荻帶我們重返1940年代,細數台灣前輩攝影家張才在上海留下的鏡頭足跡。而這期夾帶的《SHOUT》第六輯,是台灣新一代攝影創作者鄭弘敬的獨白詩篇,他遊移於日常卻捉摸不定的破格視線,則是另一個謎題。
新的一年準備開始,我們也回顧2014年的攝影出版。在VOP編輯室被愈來愈多來自世界各地的攝影書淹沒的情況下,我們特別增加頁數、一口氣邀集了五位不同國家的攝影評論人與攝影書收藏者——陣容包括獨立攝影書庫創辦人Larissa Leclair、亞太攝影書資料庫創辦人Daniel Boetker-Smith、法國Le Bal藝術總監Sebastian Arthur Hau、德國卡塞爾攝影書節創辦人Dieter Neubert,以及日本資深藝評家大竹昭子——在2014年的攝影書海中,評選出他們最喜歡的攝影書單推薦給大家。如果你和我們一樣是攝影書迷,那麼絕對不能錯過這些精彩的書。
蕭永盛的「台灣攝影史」連載五,此次回望甲午戰爭時期日人龜井茲明與其寫真班在台灣留下的戰爭影像紀錄 ; Q單元,我們則專訪中國《老照片》主編馮克力,這份18年來由讀者投稿、蒐集整理民間照片資料的叢刊,是庶民影像史觀的珍貴報告。
然而在埋首編務的同時,我們接獲中國海關查禁《攝影之聲》並出動「文化市場執法總隊」接連查抄書店據點、全面下架雜誌的消息,其中更特別針對了《攝影之聲》上期的「抗議、行動與影像」專題,試圖以非法進口的理由在中國進行打壓淨化。此舉非但證實了中國政府對於出版與表意自由已更加限縮,同時也說明了即使是一份小小的刊物也足以讓強權畏怕。我們在這裡要再次聲明,《攝影之聲》將堅持獨立刊物的精神,寧做異音,也不會配合任何掌權者的和諧曲調。在此特別感謝關心及支持我們的讀者。
---
關於本期 ABOUT :
http://www.vopmagazine.com/vop014/
購買本期 ORDER:
www.vopmagazine.com/vop014shop/
訂閱SUBSCRIBE:
www.vopmagazine.com/subscribe/
---
This issue of VOP pays tribute to artist Chen Shun-Chu.
Born in 1963, Chen’s composite images and photographic installation art pieces, which capture the vivid memories of his family and longing for his ancestral home, are iconic pieces in Taiwanese contemporary art. Chen passed away in 2014 just as his major retrospective exhibition was being held in the Taipei Fine Arts Museum. We interviewed him in 2011, and published the interview in the now out-of-print third issue of VOP. We decided to re-publish the interview in this issue, alongside letters to Chen Shun-Chu from artists Chen Chieh-Jen and Yao Jui-Chung, as well as some drawings, words and musings from his personal notebooks. He once said that art is something that comes from deep in his heart, and we try to imagine the home and family that were always on his mind from his murmurings.
Also in this issue, we introduce artists Akashika Maya, Utagawa Naohiro and Fu Yu, seeking a path through their mysterious images that perhaps even they themselves would find difficult to decipher—Akashika’s eccentric layouts, Utagawa’s frustrated graffiti on his family photos and Fu Yu’s indifferent images of animal remains. In their columns, Chang Shih-Lun analyses the deconstruction and creation of photography through Side Chain, a new film by photographer Chang Chian-Chi; Gu Zheng writes about the life and works of Czech photographer Jan Svoboda in search of the autobiographic images in his photographs; Huang Han-Di brings us back to the 1940s and shows us footprints of Taiwanese photographer Chang Tsai in Shanghai through his pictures. The 6th issue of the bonus zine SHOUT is a soliloquy by teikoukei, one of the new generation of Taiwanese photographers. Through his lenses, we enter yet another mysterious journey and break free of normal points of view.
At the start of 2015, we look back at the publications of 2014. The VOP team has been —gladly—overwhelmed by recommendations from all over the world. We decided to increase the number of pages for this issue and invited 5 photography critics and photobook collectors from 5 different countries to submit a list of their favorite photobook lists of 2014. The panel includes the founder of Indie Photobook Library Larissa Leclair, Director and founder of Asia-Pacific Photobook Archive Daniel Boetker-Smith, Creative Director of Le Bal Books Sebastian Arthur Hau from France, founder of Kassel Photobook Award Dieter Neubert from Germany and renowned critic Akiko Otake. If you, too, love photobooks, then these titles are definitely worth your time.
In “History of Photography in Taiwan” Part V, Hsiao Yong-Seng looks back at the wartime images left by Japanese photographer Kamei Koreaki and his Photography Unit in the army; Q features a special interview with Feng Keli, editor-in-chief for Old Photographs, a publication that has become a valuable archive of photography from the historical perspective of the common people through 18 years of collecting, organizing and publishing photographs sent in by its readers.
As we were busy working on this issue of VOP, we received word that VOP has been banned from import by China customs. In addition, the authorities have also sent the “Integrated Law Enforcement in Cultural Market Team” to VOP retailers in China to remove and confiscate issues of VOP from the stores, especially our recent issue on “Protests, Activism and Images”. This act confirms that the Chinese government is still oppressing freedom of speech and publishing, and also proves that even a small magazine like ours can cause great fear to a totalitarian regime. Although we are concerned about the impact of such a policy on cultural and ideological dialogue, as an independent magazine, VOP will continue on its path and risk being different, rather than dance to the tune of the oppressor. We sincerely thank our readers for your concern and support.
---
Voices of Photography 攝影之聲
Issue 14 : 謎途 Journey Into Mystery
www.vopmagazine.com
art collectors magazine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
art collectors magazine 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
art collectors magazine 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
art collectors magazine 在 Art Collector Magazine - YouTube 的推薦與評價
Art Collector Magazine. Art Collector Magazine. @artcollectormagazine4537. @artcollectormagazine4537 ‧ ‧ 118 subscribers ‧ 119 videos. ... <看更多>
art collectors magazine 在 American Art Collector Magazine - Facebook 的推薦與評價
American Art Collector Magazine, Scottsdale, Arizona. 528525 likes · 344 talking about this. The source for #art #artists upcoming gallery & art fairs,... ... <看更多>